กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นิคมพัฒนา


“ โครงการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ ตำบลนิคมพัฒนา ปี 2566 ”

ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงตำบลนิคมพัฒนา

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ ตำบลนิคมพัฒนา ปี 2566

ที่อยู่ ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 4/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ ตำบลนิคมพัฒนา ปี 2566 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นิคมพัฒนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ ตำบลนิคมพัฒนา ปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ ตำบลนิคมพัฒนา ปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 90,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นิคมพัฒนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ผู้สูงอายุถือเป็นปูชนียบุคคลของสังคมที่มีคุณค่า เนื่องจากผ่านประสบการณ์มามาก เคยเป็นกำลังสำคัญของสังคมมาก่อน มีความรู้ ทักษะ อนุรักษ์ และสืบทอด ประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น วิถีชีวิตดั้งเดิม และได้ทำคุณประโยชน์แก่สังคมมาก่อน มีความรู้ มีทักษะ อนุรักษ์และสืบทอด ประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น วิถีชีวิตดังเดิม และได้ทำคุณประโยชน์แก่สังคมมาแล้วมากมาย จำเป็นอย่างยิ่งที่คนรุ่นหลังจะต้องให้ความสำคัญในการดูแลผู้สูงอายุเหล่านี้ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี สุขภาพกายดี สุขภาพจิตดี ส่งเสริมให้ผู้สูงอายสามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข สิ่งสำคัญที่จะช่วยให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพกายและจิตที่ดีถือเป็นพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในผู้สูงอายุ ได้ เช่น การดูแลเรื่องโภชนาการ การออกกำลังกาย การเคลื่อนไหวร่างกายอย่างสม่ำเสมอ การฝึกฝนเรื่องการจัดการความเครียด จัดการอารมณ์ให้ปกติ มีความสุขในทุก ๆ วัน การดูแลสุขภาพช่องปาก การหมั่นตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น การฝึกสมาธิ การฝึกกิจกรรม ต่างๆ ที่สนใจ เพื่อใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ เพื่อการทำงานของสมองที่ดี และมีความสุข การดูแลเรื่อง สิ่งแวดล้อมให้ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุ รวมถึงการงดดื่มแอลกอฮอล์ และงดสูบบุหรี่ (คู่มือส่งเสริมสุขภาพดี ชะลอชรา ชีวายีนยาว ,2564) ปีงบประมาณ 2566 ในพื้นที่ตำบลนิคมพัฒนา มีผู้สูงอายุทั้งหมด จำนวน 1,013 คน จากผลการประเมินความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน (ADL) เพื่อแยกประเภทของกลุ่มผู้สูงอายุพบว่า เป็นผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคม (ช่วยเหลือตัวเองได้ดี ) จำนวน 990 คน คิดเป็นร้อยละ 97.73 กลุ่มติดบ้าน (ช่วยเหลือตัวเองได้บ้าง) จำนวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 1.88 และกลุ่มติดเตียง จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 0.39 ซึ่งทางพื้นที่และภาคีเครือข่าย บริหารจัดการการดูแลกลุ่มติดบ้านและติดเตียงด้วยระบบการดูแล ผู้สูงอายุระยะยาวและผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง โดยการขับเคลื่อนของศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและผู้ที่มีภาวะ พึ่งพิงตำบลนิคมพัฒนา ส่วนในกลุ่มติดสังคม ซึ่งเป็นกลุ่มใหญ่ ที่มีจำนวนผู้สูงอายุมากกว่ากลุ่มที่มีภาวะพึ่งพิงจำเป็นที่จะต้องได้รับการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต เพิ่มพูนความรู้ ทักษะชีวิตที่จำเป็น ตลอดจนเปิดโอกาสให้ผู้สูงอายุได้แสดงศักยภาพ โดยการถ่ายทอดภูมิความรู้ ประสบการณ์ที่สั่งสมแก่บุคคลอื่น เพื่อสืบสานภูมิปัญญาให้คงคุณค่ากับชุมชน การรวมกลุ่มจัดกิจกรรมสำหรับสูงอายุ จึงไม่ได้เป็นแค่เพียงเพื่อการรวมกลุ่มพบปะพูดคุยกันเท่านั้น แต่ยังจำเป็นต้องมีกิจกรรมที่หลากหลายตามความต้องการของ ผู้สูงอายุ และขยายกิจกรรมจากที่มีการดำเนินการอยู่แล้ว ยังมีการพัฒนาต่อๆ ไป เพื่อยืดส่งเสริมสุขภาพและยืดระยะเวลาการเจ็บป่วย หรือการเกิดภาวะแทรกซ้อน ของผู้สูงอายุต่อไป ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงตำบลนิคมพัฒนาจึงมีแนวความคิดใน การดำเนินการภายใต้กระบวนการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อเพิ่มความสามารถของผู้สูงอายุที่มีศักยภาพ เพื่อให้ผู้สูงอายุได้เรียนรู้ พัฒนาทักษะในการดูแลตนเอง ซึ่งจะนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิต ผู้สูงอายุ โดยอยู่บนพื้นฐานแนวคิดที่ว่า "ผู้สูงอายุมีคุณค่าและมีศักยภาพ ควรได้รับการส่งเสริม สนับสนุนให้มีส่วนร่วมทำประโยชน์ให้สังคม และส่งเสริมการเรียนรู้ให้ผู้สูงอายุ โดยเชื่อมโยงกับประสบการณ์ของผู้สูงอายุสาระการเรียนรู้จะต้องทำให้ผู้สูงอายุสามารถนำไปใช้ได้จริงในชีวิตปัจจุบัน เพิ่มโอกาสในการรวมกลุ่มใน ลักษณะเครือข่ายหรือชุมชน อีทั้งยังลดการเกิดปัญหาสุขภาพที่รุนแรง จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพ ผู้สูงอายุตำบลนิคมพัฒนา 2566 ขึ้น เพื่อต้องการให้ผู้สูงอายุที่ผ่านหลักสูตรสามารถดูแลสุขภาพตนเองเบื้องต้นได้ อยู่ร่วมในครอบครัว ชุมชน และสังคมได้อย่างมีความสุข และสามารถเป็น ผู้สูงอายุต้นแบบให้กับ ชุมชนและสังคมได้อีกด้วย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑.เพื่อส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตและการเรียนรู้เพิ่มความสามารถ และส่งเสริมกิจกรรมกลุ่มของผู้สูงอายุ ๒. ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจและตระหนักในการดูแล ส่งเสริมสุขภาพตนเอง ๓. เพื่อเสริมสร้างความมีคุณค่าในตนเอง ส่งเสริมสุขภาพจิตที่ดีของผู้สูงอายุจากการเข้าร่วมกิจกรรม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 56
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑.ลดอัตราการเกิดปัญหาด้านสุขภาพกายและใจของผู้สูงอายุทำให้มีสุขภาพแข้.แรงกระฉับกระเฉง ลดความเสี่ยงจากการเจ็บป่วย ๒. ผู้สูงอายุไ้คลายเหงา จิตใจกระชุ่มกระช่วย สดชื่น รู้สึกภาคภูมิใจ และตระหนักในคุณค่า และมีความสัมพันธ์ที่ดีกับคนวัยเดียวกันและคนต่างวัย ได้รับการยอมรับในฐานะสมาชิกของกลุ่ม ๓. รู้เท่าทันและเข้าใจสิ่งต่างๆ ที่เกืดขึ้น สามารถปรับตัวและดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม ๔. ผ้สูงอายุเกิดการเรียนรู้ แลกเปลี่ยนแนวทาง วิธีการในการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาคุณภาพชีวิตจากกลุ่มอื่นๆถ่ายทอดประสบการณ์ ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถ่นให้ดำรงสืบทอดเอกลักษณ์ของชุมชน เปิกโอกาสให้ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการทำประโยชน์ต่อชุมชนและสังคม รวมทั้งอาจเป็นแรงผลักดันให้เข้าร่วมเป็นอาสาสมัครในชุมชน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑.เพื่อส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตและการเรียนรู้เพิ่มความสามารถ และส่งเสริมกิจกรรมกลุ่มของผู้สูงอายุ ๒. ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจและตระหนักในการดูแล ส่งเสริมสุขภาพตนเอง ๓. เพื่อเสริมสร้างความมีคุณค่าในตนเอง ส่งเสริมสุขภาพจิตที่ดีของผู้สูงอายุจากการเข้าร่วมกิจกรรม
    ตัวชี้วัด : ๑.ร้อยละ ๙๐ ของผู้สูงอายุ เข้าร่วมอบรมตามเกณฑ์กิจกรรมกลุ่มทั้งหมด ๑ ครั้ง/สัปดาห์ ๒.ผู้สูงอายุมีความรุ้ในการส่งเสริมสุขภาพ ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ร้อยะ ๙๐ (ก่อน-หลังอบรม) ๓. ร้อยละ ๙๐ ของผู้สูงอายุที่เข้าร่วมอบรม มีคะแนนความพึงพอใจอยู่ในระดับดีขึ้นไป
    100.00

    0

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 56
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 56
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.เพื่อส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตและการเรียนรู้เพิ่มความสามารถ  และส่งเสริมกิจกรรมกลุ่มของผู้สูงอายุ  ๒. ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจและตระหนักในการดูแล ส่งเสริมสุขภาพตนเอง  ๓. เพื่อเสริมสร้างความมีคุณค่าในตนเอง  ส่งเสริมสุขภาพจิตที่ดีของผู้สูงอายุจากการเข้าร่วมกิจกรรม

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ ตำบลนิคมพัฒนา ปี 2566 จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงตำบลนิคมพัฒนา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด