กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการชาวท่าสาปสุขภาพดี ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ปี 2566 ”
ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นางสาวซานียะห์ มะแงสะแต




ชื่อโครงการ โครงการชาวท่าสาปสุขภาพดี ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ปี 2566

ที่อยู่ ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 66-L8412-04-010 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 29 กันยายน 2566

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชาวท่าสาปสุขภาพดี ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ปี 2566 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชาวท่าสาปสุขภาพดี ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชาวท่าสาปสุขภาพดี ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 66-L8412-04-010 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2566 - 29 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ครอบครัวเป็นหน่วยของสังคมที่เล็กที่สุดของมนุษย์ การดูแลสุขภาพของบุคคลในครอบครัวเป็นสิ่งสำคัญ เพราะจะนำไปสู่การพัฒนาสังคม การดูแลสุขภาพเริ่มตั้งแต่การปฏิสนธิ จนถึงเป็นผู้สูงอายุ ในทุกช่วงวัยก็จะมีภาวะแทรกซ้อนทางด้านสุขภาพที่แตกต่างกันไป โดยเฉพาะเมื่ออายุเริ่มมากขึ้น ประกอบกับการกินอาหารและการใช้ชีวิตในกิจวัตรประจำวัน ทำให้จำนวนของคนที่เป็นโรคต่างๆเพิ่มขึ้น ไม่ว่าจะเป็นโรคเรื้อรังต่างๆ หรือแม้แต่โรคปวดกล้ามเนื้อต่างๆ โดยพบว่าประชากรในประเทศไทยประมาณร้อยละ 43 มีอาการปวดกล้ามเนื้อเพิ่มขึ้น จากสถิติพบว่าอายุที่พบอาการปวดกล้ามเนื้อ มีแนวโน้มพบตั้งแต่อายุ 35 ปีขึ้นไป พบมากในผู้สูงอายุ พบได้ทั้งในผู้หญิงและผู้ชาย ซึ่งสาเหตุของอาการปวดกล้ามเนื้อต่างๆ พบว่าส่วนใหญ่มาจากอาชีพจากการปฏิบัติงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งอาการปวดกล้ามเนื้อจากการทำงานและความเครียด นอกจากอาการปวดกล้ามเนื้อที่พบได้มากแล้ว อาการเจ็บป่วยเบื้องต้นทั่วไป เช่น ท้องอืด ท้องผูก ภูมิแพ้ ผื่นคัน หรืออาการอื่นๆที่ไม่รุนแรง ยังพบได้บ่อยในประชาชนที่มารับยาแผนปัจจุบัน จากข้อมูลผู้มารับบริการ ปี 2565 ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าสาป หมู่ที่ 1, 2,3,4,5,6 พบว่าผู้ป่วยที่มารับบริการมีอาการร่วมเป็นโรคปวดกล้ามเนื้อ ระบบไหลเวียนเลือดต่าง ๆ มากกว่าร้อยละ40 ซึ่งกลุ่มเหล่านี้ ส่วนใหญ่จะมารับยาแผนปัจจุบันเป็นประจำ อาจจะส่งผลต่อสุขภาพในระยะยาวได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มวัยทำงาน หากยิ่งอาการเพิ่มมากขึ้น อาจเกิดปัญหากับการใช้ชีวิตประจำวัน หากมีวิธีที่ช่วยบรรเทาหรือลดอาการเจ็บปวดจากอาการปวดกล้ามเนื้อ จะช่วยให้การดำเนินชีวิตประจำวันของผู้ป่วยเป็นไปอย่างราบรื่น อีกทั้งเป็นการลดภาระและค่าใช้จ่ายในการรักษาของญาติ หรือผู้ดูแล นอกจากนี้ในกลุ่มอาการทางระบบทางเดินอาหาร พบว่า มีการใช้ยาแผนปัจจุบัน มีมากถึงร้อยละ 20 หากมีวิธีที่ช่วยบรรเทาอาการ โดยไม่ใช้ยา ก็จะเป็นประโยชน์ต่อร่างกายในระยะยาว       ดังนั้นทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าสาป อำเภอเมือง จังหวัดยะลา ได้ตระหนักถึงปัญหาที่จะเกิดขึ้นตามมา หากกลุ่มต่าง ๆมีอาการที่รุนแรงตามมา ที่อาจส่งผลต่อการดำเนินชีวิตประจำวันหรือเกิดภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ ตามมา ตลอดจนการเกิดโรคแทรกซ้อนอื่นๆ จนไม่สามารถทำกิจวัตรด้วยตนเอง เป็นต้นเหตุให้เกิดภาวะทุพพลภาพได้ จึงได้จัดทำโครงการชาวท่าสาปสุขภาพดี ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย เพื่อให้ความรู้และเป็นทางเลือกในการรักษาให้กับประชาชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลตัวเองและบุคคลในครอบครัวจากอาการปวดกล้ามเนื้อ และสามารถนวดรักษาอาการเจ็บป่วยเบื้องต้นได้
  2. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถเลือกสมุนไพรที่มีอยู่ในชุมชนในการดูแลตนเองและคนรอบข้างได้และอาการเจ็บป่วยเบื้องต้น อาทิเช่น ท้องอืด ท้องเฟ้อ ท้องผูก ภูมิแพ้ ได้
  3. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ ให้แก่บุคคลในครอบครัวและชุมชนได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้ และมีส่วนร่วมในการดูแลสมาชิกในครอบครัว โดยใช้วิธีการนวดเบื้องต้นได้
    2. ประชาชนสามารถใช้สมุนไพรที่มีอยู่ในชุมชนในการดูแลตนเองและคนรอบข้างได้
    3. ประชาชนมีสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ ให้แก่บุคคลในครอบครัวและชุมชนได้

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลตัวเองและบุคคลในครอบครัวจากอาการปวดกล้ามเนื้อ และสามารถนวดรักษาอาการเจ็บป่วยเบื้องต้นได้
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถเลือกสมุนไพรที่มีอยู่ในชุมชนในการดูแลตนเองและคนรอบข้างได้และอาการเจ็บป่วยเบื้องต้น อาทิเช่น ท้องอืด ท้องเฟ้อ ท้องผูก ภูมิแพ้ ได้
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ ให้แก่บุคคลในครอบครัวและชุมชนได้
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลตัวเองและบุคคลในครอบครัวจากอาการปวดกล้ามเนื้อ และสามารถนวดรักษาอาการเจ็บป่วยเบื้องต้นได้ (2) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถเลือกสมุนไพรที่มีอยู่ในชุมชนในการดูแลตนเองและคนรอบข้างได้และอาการเจ็บป่วยเบื้องต้น อาทิเช่น ท้องอืด ท้องเฟ้อ ท้องผูก ภูมิแพ้ ได้ (3) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ ให้แก่บุคคลในครอบครัวและชุมชนได้

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการชาวท่าสาปสุขภาพดี ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ปี 2566 จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 66-L8412-04-010

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวซานียะห์ มะแงสะแต )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด