กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านนา


“ โครงการโรงเรียนขยะ (ลดแหล่งพาหะนำโรค) Reduce Carrier Garbage School (RCGS) ตำบลบ้านนา ประจำปี 2566 ”

ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายไพโรจน์ ราชเทพ

ชื่อโครงการ โครงการโรงเรียนขยะ (ลดแหล่งพาหะนำโรค) Reduce Carrier Garbage School (RCGS) ตำบลบ้านนา ประจำปี 2566

ที่อยู่ ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ L3363-2566-2007 เลขที่ข้อตกลง 002/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2566 ถึง 31 ตุลาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการโรงเรียนขยะ (ลดแหล่งพาหะนำโรค) Reduce Carrier Garbage School (RCGS) ตำบลบ้านนา ประจำปี 2566 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการโรงเรียนขยะ (ลดแหล่งพาหะนำโรค) Reduce Carrier Garbage School (RCGS) ตำบลบ้านนา ประจำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการโรงเรียนขยะ (ลดแหล่งพาหะนำโรค) Reduce Carrier Garbage School (RCGS) ตำบลบ้านนา ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ L3363-2566-2007 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2566 - 31 ตุลาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,350.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เทศบาลตำบลบ้านนา ตั้งอยู่เลขที่ 29 หมู่ที่ 5 ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง ข้อมูลทั่วไปของพื้นที่ตำบลบ้านนา มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 117 ตารางกิโลเมตร มีหมู่บ้านทั้งหมด 12 หมู่บ้าน มีครัวเรือนทั้งหมด 3137 ครัวเรือน มีประชากรรวม 7470 คน มีโรงเรียน 3 โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 3 ศูนย์ มีวัด 4 วัด มีถ้ำ 3 ถ้ำ มีตลาดนัดเอกชนจำนวน 1 แห่ง มีส่วนราชการต่างๆ ได้แก่ รพ. ศรีนครินทร์(ปัญญานันทภิกขุ), รพ.สต.บ้านลำใน, ทัณฑสถานเปิดบ้านนาวง, แขวงการทางศรีนครินทร์ มีคลอง 1 สายหลัก คือ คลองวงศ์
    สถานการณ์ปัญหาขยะของพื้นที่ตำบลบ้านนา เทศบาลตำบลบ้านนาได้จัดเก็บขยะในพื้นที่ตำบลบ้านนาทุกวันจันทร์ - วันเสาร์ ปริมาณขยะมูลฝอยประมาณ 2-3 ตัน/วัน โดยรถยนต์บรรทุกขยะมูลฝอยแบบอัดท้าย ขนาดความจุ 6 ตัน จำนวน 1 คัน สถานที่กำจัดโดยวิธีฟังกลบขอใช้บริการสถานที่เอกชนภายนอกตำบลบ้านนา มีพนักงานเก็บขยะจำนวน 2 คน พนักงานขับรถ 1 คน มีค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการขยะเช่น ค่าน้ำมันรถ ค่าซ่อมแซมรถ ค่าจ้างพนักงาน ค่าเช่าที่ทิ้งขยะ รวมค่าใช้จ่าย 954,392 บาทต่อปี ประชาชนในตำบลยังไม่มีการคัดแยกขยะในระดับครัวเรือนอย่างจริงจัง ทำให้เกิดปัญหาขยะมีปริมาณมากขึ้นทุกปี (ปริมาณขยะในปีงบประมาณ 2563 จัดเก็บได้ 653.19 ตัน ปีงบประมาณ 2564 จัดเก็บได้ 682.87 ตัน) มีผลกระทบต่อปัญหาสุขภาพของคนในชุมชน จากสถิติการเจ็บป่วยเมื่อปี 2563 มีไข้เลือดออกจำนวน 25 คน มีค่าใช้จ่ายในการควบคุมการระบาดของโรคปีนึงประมาณ 81,580 บาทต่อปี และมีผลกระทบต่อสังคม เรื่องรถเก็บขนขยะไม่สามารถเก็บขนขยะได้ตามปกติ เนื่องจากเข้าซ่อมบำรุงรักษาเป็นประจำทุกเดือน จากปัญหาดังกล่าวส่วนใหญ่มีสาเหตุมาจากประชาชนขาดความรู้เรื่องการคัดแยกขยะที่ถูกวิธี ความสะดวกซื้อสะดวกใช้ เจ้าของตลาดนัทไม่ให้ความร่วมมือ แม่ค้าขาดความรับผิดชอบในการคัดแยกขยะ ชาวบ้านยังไม่นิยมนำถุงผ้าหรือตะกร้ามาจากบ้านในการจ่ายตลาด
    สำนักธรรมนูญตำบลบ้านนา ได้ให้ความสำคัญในการจัดการขยะ โดยมุ่งหวังให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ คือ ปริมาณขยะลดลง โดยให้เกิดกลไกการจัดการขยะในระดับครัวเรือน/ระดับชุมชน และให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ในการจัดการขยะ มีนาฬิกาและเฝ้าระวังติดตามการจัดการขยะในระดับตำบลที่เข้มแข็ง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการในการจัดการขยะ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมเรียนรู้การจัดการขยะผ่านโรงเรียนขยะตำบล
  2. กิจกรรมขยะแลกไข่
  3. กิจกรรมรณรงค์เก็บขยะและพัฒนาสิ่งแวดล้อม
  4. กิจกรรมประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา
  5. เรียนรู้การจัดการขยะผ่านโรงเรียนขยะตำบล
  6. กิจกรรมขยะแลกไข่
  7. รณรงค์เก็บขยะและพัฒนาสิ่งแวดล้อม
  8. กิจกรรมประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 70
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 210
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. มีคณะทำงานที่มีตัวแทนจากท้องที่ และท้องถิ่นร่วมขับเคลื่อนการจัดการขยะที่เข้มแข็ง
  2. ตัวแทนครัวเรือนต้นแบบมีความรู้ มีความตระหนัก รักษาความสะอาดภายในและนอกครัวเรือนของตนเองและปรับปรุงสภาพแวดล้อมสะอาดถูกหลักสุขา พี่บางครัวเรือนได้ร้อยละ 60 ของครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการ
  3. ครัวเรือนสามารถจัดการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อได้ร้อยละ 80 ของครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการ
  4. ปริมาณขยะที่ทางเทศบาลต้องนำไปกำจัดลดลงร้อยละ 10 ของปีที่ผ่านมาทำให้ไทยจ่ายค่าทิ้งขยะลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมขยะแลกไข่

วันที่ 1 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุม กำหนดเกณฑ์การแลกเปลี่ยนขยะอันตรายกับไข่ไก่
2.ประชาสัมพันธ์ กิจกรรมขยะอันตรายแลกไข่
3.ลงพื้นที่ ทำกิจกรรมขยะอันตรายแลกไข่ ในพื้นที่ ม.2และ ม.12

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ทำป้ายประชาสัมพันธ์ กิจกรรมขยะอันตรายแลกไข่
2.ได้ขยะอันตรายแลกไข่ จำนวน 100 กก.

 

210 0

2. รณรงค์เก็บขยะและพัฒนาสิ่งแวดล้อม

วันที่ 28 มิถุนายน 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมชี้แจง การทำกิจกรรมรณรงค์เก็บขยะและพัฒนาสิ่งแวดล้อม
2.ลงพื้นที่ พัฒนาสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ ม.5และ ม.12

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ได้รณรงค์การแยกขยะและพัฒนาสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่ ม.5และ ม.12

 

40 0

3. เรียนรู้การจัดการขยะผ่านโรงเรียนขยะตำบล

วันที่ 19 กรกฎาคม 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. เลือกวิทยากรเป็นทีมสร้างแรงจูงใจ สาธิตการจัดการขยะ และสร้างการเรียนรู้
  2. จัดหาวัสดุเพื่อการสาธิตการจัดการขยะ สร้างการเรียนรู้ ดังนี้
          - ชุดสาธิตจัดการขยะอินทรีย์ทำน้ำหมัก/ถังขยะเปียก/ไส้เดือน       - ชุดสาธิตจัดการขยะอินทรีย์ทำหมักแห้ง
  3. สร้างการเรียนรู้ตามแนวทาง 3 R

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ทีมวิทยากร หลักสูตรการคัดแยกขยะรีไซเคิล/ขยะอินทรีย์/ขยะทั่วไป
2.ผู้เข้าร่วมอบรมได้รับอุปกรณ์สาธิต
3.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถคัดแยกขยะได้ทุกประเภท

 

210 0

4. กิจกรรมประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา

วันที่ 1 กันยายน 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.มีการประชุมกิจกรรมประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ครั้งที่ 1 โดยกรรมการช่วยกันติดตามผลการทำกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.กิจกรรมเรียนรู้การจัดการขยะผ่านโรงเรียนขยะตำบล  จำนวน 1 รุ่น เป็นวัดต้นแบบในการจัดการขยะ
2.กิจกรรมรณรงค์เก็บขยะและพัฒนาสิ่งแวดล้อม ฯ ประกอบด้วย จนท. อสม. ผู้นำชุมชนและตัวแทนประชาชน ได้ร่วมทำกิจกรรม จำนวน 2 ครั้ง ในการปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการขยะ
3.กิจกรรมขยะแลกไข่ โดยใช้ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการฯคัดแยกขยะและนำขยะที่คัดแยกมาแลกไข่ไก่
มีหมู่บ้านต้นแบบในการคัดแยกขยะอันตราย นำมาแลกไข่ จำนวน 2 หมู่บ้าน และมีครัวเรือนเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 60 ครัวเรือน และได้ปริมาณขยะอันตราย จำนวน 99.5 กิโลกรัม

 

30 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการในการจัดการขยะ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการด้านการจัดการขยะ
50.00 60.00 60.00

ได้หมู่บ้านต้นแบบในการจัดการขยะ หมู่ที่ 12

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 280 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 70 70
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 210 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการในการจัดการขยะ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมเรียนรู้การจัดการขยะผ่านโรงเรียนขยะตำบล (2) กิจกรรมขยะแลกไข่ (3) กิจกรรมรณรงค์เก็บขยะและพัฒนาสิ่งแวดล้อม (4) กิจกรรมประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (5) เรียนรู้การจัดการขยะผ่านโรงเรียนขยะตำบล (6) กิจกรรมขยะแลกไข่ (7) รณรงค์เก็บขยะและพัฒนาสิ่งแวดล้อม (8) กิจกรรมประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการโรงเรียนขยะ (ลดแหล่งพาหะนำโรค) Reduce Carrier Garbage School (RCGS) ตำบลบ้านนา ประจำปี 2566 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ L3363-2566-2007

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายไพโรจน์ ราชเทพ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด