กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มาโมง


“ โครงการส่งเสริมการเกษตรปลอดภัยจากสารพิษ ”

ตำบลมาโมง อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
กลุ่มแม่บ้านไอตีมุง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการเกษตรปลอดภัยจากสารพิษ

ที่อยู่ ตำบลมาโมง อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2532-2-04 เลขที่ข้อตกลง 04/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการเกษตรปลอดภัยจากสารพิษ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมาโมง อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มาโมง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการเกษตรปลอดภัยจากสารพิษ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการเกษตรปลอดภัยจากสารพิษ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมาโมง อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L2532-2-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2566 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,360.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มาโมง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อาชีพเกษตรกรรม เป็นอาชีพที่มีความสำคัญเกี่ยวกับชีวิตและความเป็นอยู่ของคนทุกคนในสังคม เนื่องจากเป็นอาชีพที่ผลิตอาหารที่ทุกคนต้องกินต้องใช้ในชีวิตประจำวัน ก้าวสู่ยุคโลกาภิวัฒน์และยุคที่มีการแข่งขันทางการค้าการลงทุน ทำให้การประกอบอาชีพการเกษตรจะต้องมีการปรับปรุงและพัฒนาเทคนิคและวิธีการที่เหมาะสม อีกทั้งประชาชนทั่วไปในปัจจุบันได้ตระหนักถึงความปลอดภัยด้านอาหารมากขึ้น เกษตรกรจึงต้องมีการผลิตให้ถูกต้องตามหลักวิชาการ เพื่อให้ได้ผลผลิตที่ปลอดภัย เป็นแนวทางการเกษตรยั่งยืนต่อไป ปัญหาสุขภาพที่สำคัญคืออันตรายจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช เนื่องจากเกษตรกรส่วนใหญ่ใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช อย่างแพร่หลายเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร และมีเกษตรส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการใช้สารเคมีฯที่ไม่ถูกต้องปลอดภัยทำให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพทั้งเฉียบพลันและเรื้อรัง อาการแสดงเฉียบพลันมีตั้งแต่ระดับเล็กน้อยจนรุนแรงถึงแก่ชีวิต ขึ้นอยู่กับระดับความเข้มข้น ความเป็นพิษ และปริมาณที่ได้รับ ส่วนอาการเรื้อรังสารเคมีกำจักศัตรูพืชจะสะสมในระบบต่างๆ ของร่างกายทำให้เกิดความผิดปกติและโรคต่างๆ เช่น มะเร็งสารเคมี กำจัดศัตรูพืชสามารถเข้าสู่ร่างกายได้หลายทาง โดยการสัมผัสทางผิวหนัง การสูดหายใจ ละอองที่ฟุ้งกระจายในอากาศ และการรับประทายอาหารและน้ำดื่มที่มีสารเคมีปนเปื้อน ซึ่งพฤติกรรมการใช้สารเคมี ที่ไม่ปลอดภัยนั้นทำให้เกษตรกรผู้อาศัยในชุมชน และผู้บริโภค มีความเสี่ยง จากการได้รับ อันตรายจากสารเคมีเพิ่มขึ้น เกษตรกรในบ้านไอตีมุง ยังคงมีการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชอยู่เป็นจำนวนมาก ซึ่งในการนำมาใช้นั้นได้มีการใช้อย่างไม่ถูกวิธีและขาดความรู้ จึงทำให้มีผลกระทบกับด้านสุขภาพโดยตรง สารเคมีตกค้างในกระแสเลือด
กลุ่มแม่บ้านไอตีมุง จึงตระหนักถึงปัญหาและความจำเป็นดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการเกษตรปลอดภัยจากสารพิษ ขึ้น เพื่อให้เกษตรกรในพื้นที่บ้านไอตีมุง ผลิตสินค้าที่มีความปลอดภัยช่วยลดต้นทุนการผลิต และมีฐานะทางเศรษฐกิจที่ดีขึ้นและผลักดันให้ประชาชนประชาชนมีความรู้และมีการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการใช้สารเคมีที่มีพิษในการประกอบอาชีพเกษตรกร ที่ส่งผลอันตรายต่อสุขภาพตัวเกษตรกร และผู้บริโภค

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้เกษตรกรในวัยทำงานทุกคนได้รับตรวจคัดกรองเกษตรกรที่มีความเสี่ยงต่อสากำจัด ศัตรูพืช
  2. 2. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ และพฤติกรรมที่ถูกต้องในการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
  3. 3. เพื่อให้เกษตรกรและประชาชนทั่วไป ตระหนักถึงพิษภัยจากสารเคมีตกค้าง และลด ละ เลิกการใช้สารเคมีอันตรายในการเกษตร และหันมาใช้ปุ๋ยจากวัสดุธรรมชาติ รวมถึงการใช้สารชีวภัณฑ์ในการควบคุมศัตรูพืช

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ ๑ การอบรมและให้ความรู้เกี่ยวกับพิษภัยของสารเคมีกำจัดศัตรูพืชการสาธิตและฝึกปฏิบัติการใช้สารสกัดจากธรรมชาติ และตรวจสุขภาพเพื่อหาระดับสารเคมีในเลือด
  2. กิจกรรมที่ 2 การอบรมให้ความรู้และภาคปฏิบัติ เกี่ยวกับการการทำเชื้อราป้องกัน พร้อมทำลายเชื้อราร้าย การทำปุ๋ยบำรุงอินทรีย์จากวัสดุธรรมชาติ สารกำจัดแมลงจากจากวัสดุธรรมชาติ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้ารับการอบรมตระหนักถึงพาภัยจากสารเคมี และหันมาใช้แนวทางการเกษตรปลอดภัยจากสารพิษ
    1. ผู้เข้ารับการอบรมได้รับการตรวจคัดกรอง ความเสี่ยงต่อสารกำจัดศัตรูพืช
    2. ผู้เข้ารับการอบรมปลูกผักปลอดสารพิษไว้ รับประทานในครัวเรือน

10.ตัวชี้วัด 1. ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้และพฤติกรรมที่ถูกต้องในการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช 2. ผลตรวจสารเคมีในเลือด พบความเสี่ยงต่อสารเคมี


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้เกษตรกรในวัยทำงานทุกคนได้รับตรวจคัดกรองเกษตรกรที่มีความเสี่ยงต่อสากำจัด ศัตรูพืช
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 2. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ และพฤติกรรมที่ถูกต้องในการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 3. เพื่อให้เกษตรกรและประชาชนทั่วไป ตระหนักถึงพิษภัยจากสารเคมีตกค้าง และลด ละ เลิกการใช้สารเคมีอันตรายในการเกษตร และหันมาใช้ปุ๋ยจากวัสดุธรรมชาติ รวมถึงการใช้สารชีวภัณฑ์ในการควบคุมศัตรูพืช
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้เกษตรกรในวัยทำงานทุกคนได้รับตรวจคัดกรองเกษตรกรที่มีความเสี่ยงต่อสากำจัด ศัตรูพืช (2) 2. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ และพฤติกรรมที่ถูกต้องในการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช (3) 3. เพื่อให้เกษตรกรและประชาชนทั่วไป ตระหนักถึงพิษภัยจากสารเคมีตกค้าง และลด ละ เลิกการใช้สารเคมีอันตรายในการเกษตร และหันมาใช้ปุ๋ยจากวัสดุธรรมชาติ รวมถึงการใช้สารชีวภัณฑ์ในการควบคุมศัตรูพืช

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ ๑ การอบรมและให้ความรู้เกี่ยวกับพิษภัยของสารเคมีกำจัดศัตรูพืชการสาธิตและฝึกปฏิบัติการใช้สารสกัดจากธรรมชาติ และตรวจสุขภาพเพื่อหาระดับสารเคมีในเลือด (2) กิจกรรมที่ 2 การอบรมให้ความรู้และภาคปฏิบัติ เกี่ยวกับการการทำเชื้อราป้องกัน พร้อมทำลายเชื้อราร้าย การทำปุ๋ยบำรุงอินทรีย์จากวัสดุธรรมชาติ สารกำจัดแมลงจากจากวัสดุธรรมชาติ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมการเกษตรปลอดภัยจากสารพิษ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2532-2-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( กลุ่มแม่บ้านไอตีมุง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด