กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะแต้ว


“ โครงการส่งเสริมความรอบรู้ ป้องกันโรคไม่ติดต่อ (รพ.สต.เกาะแต้ว) ”

ตำบลเกาะแต้ว อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางนันทา แก้วพิทยานนท์ ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกาะแต้ว

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมความรอบรู้ ป้องกันโรคไม่ติดต่อ (รพ.สต.เกาะแต้ว)

ที่อยู่ ตำบลเกาะแต้ว อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L5213-01-06 เลขที่ข้อตกลง 06/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมความรอบรู้ ป้องกันโรคไม่ติดต่อ (รพ.สต.เกาะแต้ว) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกาะแต้ว อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะแต้ว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมความรอบรู้ ป้องกันโรคไม่ติดต่อ (รพ.สต.เกาะแต้ว)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมความรอบรู้ ป้องกันโรคไม่ติดต่อ (รพ.สต.เกาะแต้ว) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกาะแต้ว อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 66-L5213-01-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะแต้ว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพได้ให้ความสำคัญกับการพัฒนา “ความรอบรู้ด้านสุขภาพ” (Health Literacy) เพื่อสร้างความเข้าใจในประเด็นสุขภาพที่เกี่ยวข้องในชีวิตและพัฒนาขีดความสามารถในระดับบุคคลเพื่อการธำรงรักษาสุขภาพตนเองอย่างยั่งยืน เนื่องจากการพัฒนาให้ประชาชนมีความรอบรู้ด้านสุขภาพจะสามารถส่งผลกระทบต่อความสามารถของประชาชนทั้งที่เกี่ยวข้องกับ 1) การใช้บริการ 2) การสื่อสารระหว่างการใช้บริการ แลกเปลี่ยนข้อมูลสุขภาพของตนเองร่วมกับผู้ให้บริการ และ 3) การนำข้อมูลไปใช้เมื่อต้องตัดสินใจในชีวิต สามารถคาดการณ์ความเสี่ยงด้านสุขภาพที่อาจเกิดขึ้นได้ และกำหนดเป้าประสงค์ในการดูแลสุขภาพตนเองได้ อันจะส่งผลต่อการจัดการโรคเรื้อรังที่กำลังเป็นปัญหาระดับโลก ซึ่งกระทรวงสาธารณสุขได้ให้ความสำคัญกับพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน โดยเฉพาะกับประชาชนกลุ่มวัยทำงาน (อายุ15-59 ปี) ที่เป็นกำลังหลักสำคัญของประเทศในการสร้างงาน สร้างรายได้ให้กับรัฐ ซึ่งถ้าประชาชนวัยทำงานมีความรอบรู้ด้านสุขภาพ มีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง จะทำให้สุขภาพแข็งแรงไม่เจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังที่สามารถป้องกันได้ ทำให้มีศักยภาพในการสร้างงาน สร้างรายได้และสร้างความมั่นคงทางด้านเศรษฐกิจให้กับประเทศอย่างต่อเนื่อง ความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health literacy) เป็นทักษะต่างๆ ทางการรับรู้และทางสังคมซึ่งเป็นตัวกำหนดแรงจูงใจและความสามารถของปัจเจกบุคคลในการที่จะเข้าถึง เข้าใจและการใช้ข้อมูลในวิธีการต่างๆ เพื่อส่งเสริมและบำรุงรักษาสุขภาพของตนเองให้ดีอยู่เสมอ เป็นทักษะที่มีความจำ เป็นสำหรับบุคคลใน การดูแลสุขภาพของตนเอง
จากการดำเนินงานโครงการหมู่บ้านจัดการสุขภาพหมู่ที่ 2 บ้านสามกอง ตำบลเกาะแต้ว อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลาในปี 2560 โดยรับสมัครกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานที่มีอายุระหว่าง 15-59 ปี ทำการศึกษาความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมตามหลัก 3อ.2ส. จำนวน 50 รายก่อนร่วมโครงการฯ ใช้แบบสอบถามความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ 3อ.2ส. ในกลุ่มวัยทำงาน จากกองสุขศึกษา ปี 2558 ผลการศึกษาความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพอยู่ในระดับพอใช้แปรผลได้ว่าเป็นผู้มีระดับความรอบรู้ทางสุขภาพที่เพียงพอและอาจะมีการปฏิบัติตนตามหลัก 3อ.2ส. ได้ถูกต้องบ้างแต่ยังขาดความยั่งยืน จึงได้นำข้อมูลดังกล่าวสู่การเสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โดยดำเนินการตามกระบวนการพัฒนาสู่หมู่บ้านจัดการสุขภาพ เป็นเวลา 3 เดือน หลังการดำเนินโครงการฯ พบว่าความรอบรู้ด้านสุขภาพอยู่ในระดับดีมากและพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ.2ส. อยู่ในระดับดีมาก ประชาชนมีสุขภาพดี ลดความเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ลดภาระค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ครอบครัวมีความสัมพันธ์ที่ดีได้ดูแลกัน ลดต้นทุนในการดูแลสุขภาพ ส่งผลให้ชุมชนเข้มแข็งสามารถพึ่งพาตนเองได้ (รายงานการดำเนินงานหมู่บ้านจัดการสุขภาพ รพ.สต.เกาะแต้ว, 2560) การดำเนินงานชุมชนรอบรู้ด้านสุขภาพของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพดำเนินการมาต่อเนื่อง มุ่งหวังให้ประชาชนลดความเสี่ยงจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง การมีสุขภาวะที่มีมีความรอบรู้ด้านสุขภาพระดับดีมากขึ้นไปจะส่งผลให้เกิดความยั่งยืนในการดูแลสุขภาพได้
ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกาะแต้ว จึงของบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลเกาะแต้วเพื่อส่งเสริมความรอบรู้ ป้องกันโรคไม่ติดต่อ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อส่งเสริมความรอบรู้ ป้องกันโรคไม่ติดต่อ ให้กลุ่มเป้าหมายมีความรอบรู้เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
  2. 2. เพื่อให้ภาคีเครือข่ายในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงานส่งเสริมความรอบรู้ ป้องกันโรคไม่ติดต่อไม่น้อยกว่า 4 เครือข่าย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 100
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. มีการส่งเสริมความรอบรู้ ป้องกันโรคไม่ติดต่อ ให้กลุ่มเป้าหมายมีความรอบรู้เพิ่มขึ้น
    2. มีภาคีเครือข่ายในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงานส่งเสริมความรอบรู้ ป้องกันโรคไม่ติดต่อ
    3. ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ ลดภาวะเสี่ยงโรคไม่ติดต่อ
    4. สร้างการแสการส่งเสริมความรอบรู้ ป้องกันโรคไม่ติดต่อ

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อส่งเสริมความรอบรู้ ป้องกันโรคไม่ติดต่อ ให้กลุ่มเป้าหมายมีความรอบรู้เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
    ตัวชี้วัด : ส่งเสริมความรอบรู้ ป้องกันโรคไม่ติดต่อ ให้กลุ่มเป้าหมายมีความรอบรู้เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80

     

    2 2. เพื่อให้ภาคีเครือข่ายในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงานส่งเสริมความรอบรู้ ป้องกันโรคไม่ติดต่อไม่น้อยกว่า 4 เครือข่าย
    ตัวชี้วัด : ภาคีเครือข่ายในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงานส่งเสริมความรอบรู้ ป้องกันโรคไม่ติดต่อไม่น้อยกว่า 4 เครือข่าย

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 100
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมความรอบรู้ ป้องกันโรคไม่ติดต่อ ให้กลุ่มเป้าหมายมีความรอบรู้เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 (2) 2. เพื่อให้ภาคีเครือข่ายในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงานส่งเสริมความรอบรู้ ป้องกันโรคไม่ติดต่อไม่น้อยกว่า 4 เครือข่าย

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมความรอบรู้ ป้องกันโรคไม่ติดต่อ (รพ.สต.เกาะแต้ว) จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 66-L5213-01-06

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางนันทา แก้วพิทยานนท์ ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกาะแต้ว )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด