กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ


“ โครงการเปลี่ยนภัยน้ำมันทอดซ้ำ สู่พลังงานทางเลือกไบโอดีเซลตามรอยศาสตร์พระราชา ประจำปี 2566 ”

ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายณรงค์ ปากบารา

ชื่อโครงการ โครงการเปลี่ยนภัยน้ำมันทอดซ้ำ สู่พลังงานทางเลือกไบโอดีเซลตามรอยศาสตร์พระราชา ประจำปี 2566

ที่อยู่ ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 66-L5312-1-05 เลขที่ข้อตกลง 9/66

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเปลี่ยนภัยน้ำมันทอดซ้ำ สู่พลังงานทางเลือกไบโอดีเซลตามรอยศาสตร์พระราชา ประจำปี 2566 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเปลี่ยนภัยน้ำมันทอดซ้ำ สู่พลังงานทางเลือกไบโอดีเซลตามรอยศาสตร์พระราชา ประจำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเปลี่ยนภัยน้ำมันทอดซ้ำ สู่พลังงานทางเลือกไบโอดีเซลตามรอยศาสตร์พระราชา ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 66-L5312-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 73,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล การใช้น้ำมันทอดซ้ำจะส่งผลกระทบต่อสุขภาพ ทำให้เกิดการเจริญเติบโตลดลง ตับและไตมีขนาดใหญ่ มีการสะสมไขมันในตับ การหลั่งน้ำย่อยทำลายสารพิษในกระเพาะอาหารเพิ่มขึ้น นอกจากนั้นไขมันที่ถูกออกซิไดซ์ปริมาณสูงอาจทำให้ ไลโปโปรตีน ชนิดแอลดีแอล มีโอกาสเกิดอนุมูลอิสระมากขึ้น จึงมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจ และหลอดเลือดได้ ส่วนไอระเหยจากน้ำมันทอดอาหาร หากสูดดมเป็นระยะเวลานานอาจมีอันตรายต่อสุขภาพ เนื่องจากพบความสัมพันธ์ระหว่างการเกิดโรคมะเร็งที่ปอด จากการศึกษาพบว่า มีกลุ่มสารก่อมะเร็งเกิดขึ้นในน้ำมันทอดซ้ำ ได้แก่ กรดไขมันไซคลิก ไตรกลีเซอไรด์อัลดีไฮด์ ไตรกลีเซอไรด์ไฮโดรเปอร์ออกไซด์, อัลดีไฮด์ และ โพลีไซคลิกอะโรเมติกไฮโดรคาร์บอน ดังนั้น การรับประทานอาหารที่มีการใช้น้ำมันทอดซ้ำหรือในน้ำมันที่ใช้ทอดมีปริมาณสารโพลาร์เกินกว่า 25% จะก่อให้เกิดความเป็นพิษต่อร่างกาย อาทิเช่น ทำให้เกิดโรคหัวใจ ทำให้เกิดโรคมะเร็งปอด มะเร็งตับ และมะเร็งกระเพาะปัสสาวะ เป็นต้น
ในปัจจุบันมีการศึกษาทดลองจำนวนมากเกี่ยวกับการนำน้ำมันพืชใช้แล้วมาทำให้เกิดประโยชน์อีกครั้ง เช่น ทำสบู่หรือทำน้ำมันหล่อลื่น โดยผ่านกระบวนการทำให้บริสุทธิ์ เป็นต้น แต่เรื่องที่น่าสนใจในปัจจุบันคือ การผลิตไบโอดีเซล จากน้ำมันพืชใช้แล้วซึ่งมีข้อดีเหนือปิโตรดีเซลหลายด้านทั้งความปลอดภัย การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ตลอดจนแหล่งวัตถุดิบที่มีอยู่จำนวนมากภายในประเทศ ย้อนกลับไปในปี พ..ศ. 2543 พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงมีพระราชกระแสรับสั่งให้กองงานส่วนพระองค์ดำเนินการวิจัยใช้น้ำมันปาล์มเป็นเชื้อเพลิงในเครื่องยนต์ดีเซล และโปรดเกล้าให้ดำเนินการอย่างต่อเนื่องและได้จดสิทธิบัตรกับกรมทรัพย์สินทางปัญญาเมื่อวันที่ 9 เมษายน 2544 ซึ่งเป็นบุคคลแรกที่ริเริ่มจัดทำ “ไบโอดีเซล” ในประเทศไทย ต่อมาได้มีกลุ่มบุคคล องค์กรภาครัฐและเอกชน ได้พัฒนาและสานต่อการทำไบโอดีเซลจนเป็นที่รู้จักในกลุ่มผู้สนใจเกี่ยวกับพลังงานทางเลือก แต่อย่างไรก็ตามยังไม่เป็นที่แพร่หลายในวงกว้างมากนัก
ในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลปากน้ำ มีจำนวน 7 หมู่บ้าน มีประชากรประมาณ 10,811คน มีครัวเรือน 2,988ครัวเรือน มีสถานประกอบการที่พัก/รีสอร์ท ประมาณ 46 แห่ง, ร้านอาหารประมาณ 50 ร้าน, แผงลอยจำหน่ายไก่ทอด/ปาท่องโก/ของทอดต่างๆ ประมาณ 60 แผง เฉพาะแผงลอยของทอดคาดว่ามีน้ำมันพืชใช้แล้วไม่น้อยกว่าวันละ 250 ลิตร หรือ 7,500 ลิตรต่อเดือนโดยที่น้ำมันใช้แล้วของร้านแผงลอยจะมีพ่อค้ามารับซื้อเพื่อนำไปผลิตไบโอดีเซลส่วนภาคครัวเรือนคาดว่ามีน้ำมันพืชใช้แล้วประมาณวันละ 100 ลิตร หรือ เดือนละ 3,000 ลิตร หากน้ำมันพืชใช้แล้วของภาคครัวเรือนปล่อยทิ้งลงสู่สิ่งแวดล้อมโดยไม่ผ่านการบำบัดอย่างถูกวิธีย่อมส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในระยะยาวต่อไป ดังนั้น กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลปากน้ำ จึงมีแนวคิดในการรักษาสิ่งแวดล้อมและลดความเสี่ยงจากการใช้น้ำมันทอดซ้ำในประชาชน ตลอดจนน้อมนำศาสตร์พระราชามาใช้ในการแก้ปัญหาด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อมในชุมชนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อช่วยลดปัญหาสุขภาพของประชาชนจากการใช้น้ำมันพืชใช้แล้ว
  2. เพื่อลดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมจากการทิ้งน้ำมันพืชใช้แล้วลงสู่สิ่งแวดล้อม
  3. เพื่อนำน้ำมันพืชใช้แล้วแปรรูปให้เป็นน้ำมันไบโอดีเซลและนำไปใช้ในหน่วยงาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดตั้งศูนย์การเรียนรู้การผลิตไบโอดีเซลตามรอยศาสตร์พระราชา
  2. จัดกิจกรรมน้ำมันพืชใช้แล้วแลกไข่
  3. ผลิตน้ำมันไบโอดีเซลจากน้ำมันพืชใช้แล้ว
  4. อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่องเปลี่ยนภัยจากน้ำมันทอดซ้ำ สู่พลังงานทางเลือกไบโอดีเซลตามรอยศาสตร์พระราชา

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ประชาชนในพื้นที่ตำบลปากนํ้า 80

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนลดการใช้น้ำมันทอดซ้ำและลดโอกาสเกิดโรคที่เกิดจากน้ำมันทอดซ้ำ

  2. หน่วยงานมีน้ำมันไบโอดีเซลใช้กับเครื่องพ่นหมอกควัน เครื่องยนต์ทางเกษตร หรือรถบรรทุก

  3. ประชาชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพของตนเองและสิ่งแวดล้อมรอบตัว

  4. น้ำมันไบโอดีเซลที่ผลิตได้มีคุณภาพตามตามเกณฑ์มาตรฐาน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดตั้งศูนย์การเรียนรู้การผลิตไบโอดีเซลตามรอยศาสตร์พระราชา

วันที่ 1 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ได้มีการจัดตั้งศุนย์การเรียนรู้ไปโอดีเซล ณ องค์การบริหารส่วนตำบลปากน้ำ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีศูนย์การเรียนรู้การเรียนรู้การผลิตไบโอดีเซล

 

0 0

2. จัดกิจกรรมน้ำมันพืชใช้แล้วแลกไข่

วันที่ 1 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ให้ชาวบ้านที่สนใจ นำน้ำมันพืชที่ใช้เเล้ว มาเเลกไข่ตามจุด ที่ทางอบต.ได้จัดตั้งไว้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีน้ำมันพืชใช้แล้วสำหรับใช้ผลิตไบโอดีเซล

 

0 0

3. ผลิตน้ำมันไบโอดีเซลจากน้ำมันพืชใช้แล้ว

วันที่ 1 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เตรียมนำ้มันพืชที่ใช้เเล้ว ต้มไล่ความชื้น 120 องศาเซสเซีส นาน 10 นาที
นำเมทิลแอลกอฮอล์ 6 ลิตร ผสมกับโซดาไฟ 150 กรัม คนให้ละลาย
รอให้อุณหภูมิลดลงเหลือ 60 -63 องศาเซลเซียส นำเมทิลแอลกอฮอล์ ที่ผสมกับโซดาไฟที่ละลาย ค่อยๆเทลงในถังผสม แล้วคนให้เข้ากันประมาณ 15 นาที
รอให้น้ำมันแยกชั้นอย่างน้อย 2 ชม. หรือค้างคืน จากนั้นแยกน้ำมันไบโอดีเซลซึ่งอยู่ด้านบนออกมา นำน้ำมันไบโอดีเซลที่ได้ล้างด้วยน้ำร้อน ครั้งที่ 1 คนให้เข้ากัน ประมาณ 10 นาที รอให้น้ำมันแยกชั้น น้ำมันจะอยู่ด้านบน ถ่ายน้ำที่อยู่ด้านล่างออก ทำซ้ำขั้นตอนด้านบนจนน้ำที่ล้างใส ประมาณ 4-5 ครั้ง นำน้ำมันไบโอดีเซลที่ผ่านการล้างแล้วไปต้มไล่ความชื้น ที่อุณหภูมิ 120 องศาเซลเซียส นาน 5 – 10 นาที ขั้นตอนนี้ให้มีให้มีน้ำผสมเข้ามาเด็ดขาด เพราะอันตรายมาก
นำน้ำมันไบโอดีเซลที่ผ่านการต้มไล่ความชื้นแล้ว กรองด้วยกระดาษกรองหรือสำลี แล้วนำไปทดสอบความเป็นไขอย่างง่าย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

หน่วยงานมีน้ำมันไบโอดีเซลไปใช้ประโยชน์ ใส่เป็นเชื้อเพลิงรถบรรทุก หรือใช้กับเครื่องพ่นหมอกควัน

 

0 0

4. อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่องเปลี่ยนภัยจากน้ำมันทอดซ้ำ สู่พลังงานทางเลือกไบโอดีเซลตามรอยศาสตร์พระราชา

วันที่ 8 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

วันที่.............. 08.30 น. – 08.50 น. - ลงทะเบียนหน้าห้องประชุม

08.50 น. – 09.00 น. - พิธีเปิด กล่าวรายงานโดย ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลปากน้ำ

กล่าวเปิดโดย นายกองค์การบริหารส่วนตำบลปากน้ำ

09.00น. – 10.30 น. - บรรยายหัวข้อ พิษภัยจากน้ำมันทอดซ้ำ

โดย สำนักงานสาธารณสุขอำเภอละงู

10.30น. – 12.00 น. - สาธิต/ปฏิบัติการทำน้ำมันไบโอดีเซลจากน้ำมันพืชใช้แล้ว

โดย .............

12.00น. – 13.00 น. - พักรับประทานอาหารกลางวัน

13.00 น. – 17.30 น. - สาธิต/ปฏิบัติการทำน้ำมันไบโอดีเซลจากน้ำมันพืชใช้แล้ว (ต่อ)

โดย ........................

ตอบข้อซักถาม

17.30 น. - เสร็จสิ้นโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับน้ำมันทอดซ้ำและขั้นตอนการผลิตไบโอดีเซล

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อช่วยลดปัญหาสุขภาพของประชาชนจากการใช้น้ำมันพืชใช้แล้ว
ตัวชี้วัด : ประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลปากนํ้าลดโอกาสเสี่ยงจากการใช้นํ้ามันทอดซํ้า
60.00 85.00

 

2 เพื่อลดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมจากการทิ้งน้ำมันพืชใช้แล้วลงสู่สิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัด : ประชาชนได้ช่วยลดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมจากการทิ้งนํ้ามันพืชใช้แล้วลงสู่สิ่งแวดล้อม
60.00 85.00

 

3 เพื่อนำน้ำมันพืชใช้แล้วแปรรูปให้เป็นน้ำมันไบโอดีเซลและนำไปใช้ในหน่วยงาน
ตัวชี้วัด : หน่วยงานมีน้ำมันไบโอดีเซลใช้ประโยชน์
60.00 85.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ประชาชนในพื้นที่ตำบลปากนํ้า 80

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อช่วยลดปัญหาสุขภาพของประชาชนจากการใช้น้ำมันพืชใช้แล้ว (2) เพื่อลดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมจากการทิ้งน้ำมันพืชใช้แล้วลงสู่สิ่งแวดล้อม (3) เพื่อนำน้ำมันพืชใช้แล้วแปรรูปให้เป็นน้ำมันไบโอดีเซลและนำไปใช้ในหน่วยงาน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดตั้งศูนย์การเรียนรู้การผลิตไบโอดีเซลตามรอยศาสตร์พระราชา (2) จัดกิจกรรมน้ำมันพืชใช้แล้วแลกไข่ (3) ผลิตน้ำมันไบโอดีเซลจากน้ำมันพืชใช้แล้ว (4) อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่องเปลี่ยนภัยจากน้ำมันทอดซ้ำ สู่พลังงานทางเลือกไบโอดีเซลตามรอยศาสตร์พระราชา

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเปลี่ยนภัยน้ำมันทอดซ้ำ สู่พลังงานทางเลือกไบโอดีเซลตามรอยศาสตร์พระราชา ประจำปี 2566 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 66-L5312-1-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายณรงค์ ปากบารา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด