โครงการติดตามและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการติดตามและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) ”
ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายซอฟฟาน แปแนะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง
กันยายน 2566
ชื่อโครงการ โครงการติดตามและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD)
ที่อยู่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 66-L4131-01-16 เลขที่ข้อตกลง 28/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการติดตามและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการติดตามและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการติดตามและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 66-L4131-01-16 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในปัจจุบัน แม้การแพทย์จะสามารถเอาชนะโรคร้ายต่างๆมากมาย ทำให้ประชากรโลกรอดพ้นจากการเจ็บป่วยเหล่านั้นและมีอายุที่ยืนยาว แต่จำนวนคนที่เป็นโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไขมันในเลือดสูง โรคอ้วน โรคหัวใจและหลอดเลือด ซึ่งเรียกรวมกันว่า เมตะบอลิกซินโดรม (Metabolic Syndrome) กลับมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว ต้นเหตุของการเพิ่มขึ้นของจำนวนผู้เป็นโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงในปัจจุบัน คือการเพิ่มขึ้นของจำนวนคนอ้วน เพราะอุปนิสัยการกินอยู่ที่เปลี่ยนไป มีการเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลงในการใช้ชีวิตประจำวัน กินอาหารที่มีไขมันในเลือดเพิ่มสูงขึ้น เป็นตัวนำไปสู่การเกิดโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง ในปีงบประมาณ 2565 จึงได้มีการตรวจคัดกรองสุขภาพของประชาชนในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านอัยเยอร์เวง อายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน 2,412 ราย เพื่อติดตาม ค้นหากลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยที่เป็นโรค เพื่อนำมาปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อลดอัตราการเกิดโรคใหม่ ซึ่งเดิมผู้ป่วยที่รับการรักษาแล้ว 480 ราย ซึ่งกลุ่มผู้ป่วยเหล่านี้มีความเสี่ยงอัมพฤกษ์ อัมพาต โรคหลอดเลือดหัวใจและจากสถิติผู้ป่วยที่มารักษาในโรงพยาบาล ส่วนใหญ่พบป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานเป็นจำนวนมาก ซึ่งเป็นโอกาสเสี่ยงของการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดในอนาคต ในการลดการเกิดของโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไขมันในเลือดสูง โรคอ้วน โรคหัวใจและหลอดเลือดต้องทำโดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของคนในสังคมทั้งหมดด้วยการรณรงค์วิถีชีวิต ทำให้เกิดความตระหนักในอันตรายของอาหารที่ทำให้เกิดความอ้วนอันตรายของชีวิตที่กินๆนอนๆไม่ขยับเขยี้ยน ไม่ออกกำลังกาย การปล่อยปละละเลยไม่ควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่างๆที่จะส่งผลให้โรคแทรกซ้อนเกิดเร็วขึ้น
จากสถานการณ์กลุ่มอายุ 35 ปี ที่ได้รับการคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ในปีงบประมาณ 2565 พบกลุ่มเสี่ยงป่วย โรคความดันโลหิตสูง จำนวน 249 ราย ด้วยเหตุผลดังกล่าวโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านอัยเยอร์เวง จึงได้จัดทำโครงการเพื่อให้ประชาชนในชุมชนเขตพื้นที่รับผิดชอบทั้งกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยง รวมถึงประชาชนทั่วไป ให้ได้รับความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องถึงพฤติกรรมของการเกิดโรค และสามารถรับผิดชอบในการจัดการตนเองเพื่อป้องกันการเกิดปัญหาแทรกซ้อนต่างๆ ตลอดจนดำรงรักษาสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองได้อย่างยั่งยืนต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย อายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรค NCD ทุกคน
- กลุ่มเสี่ยงน้อย กลุ่มเสี่ยงมาก กลุ่มเสี่ยงป่วย ได้รับการติดตาม ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดการป่วยของโรค NCD
- กลุ่มเสี่ยงป่วยมีการลดระดับความเสี่ยลดลง
- เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการมีการรับรู้ความสามารถ การกำกับพฤติกรรม และการดูแลสุขภาพของตนเองในการปรับพฤติกรรมที่เพิ่มขึ้นเพื่อลดความเสี่ยงโรค NCD
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมการติดตามและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรอง ร้อยละ 90
- กลุ่มเสี่ยง กลุ่มเสี่ยงป่วย ได้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงเกิดโรค NCD
- อัตราการป่วยรายใหม่มีค่าลดลง
- กลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป มีการตระหนักในการดูแลตนเองไม่ให้เกิดโรค NCD ทุกคน
- กลุ่มป่วย ลดอัตราการเกิด Stroke
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบรมการติดตามและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD)
วันที่ 8 สิงหาคม 2566 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1 ประชุมวางแผนงาน
2 ติดต่อประสานงาน และส่งหนังสือเชิญให้กับวิทยากรและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง
3 จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ต่างๆที่เกี่ยวข้อง
4 ดำเนินกิจกรรมตามกำหนดการที่วางไว้
5 สรุปผลรายงานการดำเนินงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีผู้ป่วยโรค และกลุ่มเสี่ยงโรค NCD ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของ รพ.สต.บ้านอัยเยอร์เวง เข้าร่วมอบรม จำนวน 120 คน
120
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย อายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรค NCD ทุกคน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของประชากรกลุ่ม 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรอง
2
กลุ่มเสี่ยงน้อย กลุ่มเสี่ยงมาก กลุ่มเสี่ยงป่วย ได้รับการติดตาม ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดการป่วยของโรค NCD
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100
3
กลุ่มเสี่ยงป่วยมีการลดระดับความเสี่ยลดลง
ตัวชี้วัด : อัตราผู้ป่วยรายใหม่ โรค NCD ลดลงจากปีที่ผ่านมา
4
เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการมีการรับรู้ความสามารถ การกำกับพฤติกรรม และการดูแลสุขภาพของตนเองในการปรับพฤติกรรมที่เพิ่มขึ้นเพื่อลดความเสี่ยงโรค NCD
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงสามารถควบคุมตัวเองไม่ให้ป่วยด้วยโรค NCD มีความรู้ในการดูแลตนเอง 3 อ 5 ส ได้อย่างเข้าใจ ติดตามความดันโลหิต ค่าเบาหวาน มีค่าลดลง ตามลำดับ
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
120
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
0
120
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย อายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรค NCD ทุกคน (2) กลุ่มเสี่ยงน้อย กลุ่มเสี่ยงมาก กลุ่มเสี่ยงป่วย ได้รับการติดตาม ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดการป่วยของโรค NCD (3) กลุ่มเสี่ยงป่วยมีการลดระดับความเสี่ยลดลง (4) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการมีการรับรู้ความสามารถ การกำกับพฤติกรรม และการดูแลสุขภาพของตนเองในการปรับพฤติกรรมที่เพิ่มขึ้นเพื่อลดความเสี่ยงโรค NCD
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมการติดตามและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการติดตามและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 66-L4131-01-16
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายซอฟฟาน แปแนะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการติดตามและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) ”
ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายซอฟฟาน แปแนะ
กันยายน 2566
ที่อยู่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 66-L4131-01-16 เลขที่ข้อตกลง 28/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการติดตามและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการติดตามและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการติดตามและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 66-L4131-01-16 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในปัจจุบัน แม้การแพทย์จะสามารถเอาชนะโรคร้ายต่างๆมากมาย ทำให้ประชากรโลกรอดพ้นจากการเจ็บป่วยเหล่านั้นและมีอายุที่ยืนยาว แต่จำนวนคนที่เป็นโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไขมันในเลือดสูง โรคอ้วน โรคหัวใจและหลอดเลือด ซึ่งเรียกรวมกันว่า เมตะบอลิกซินโดรม (Metabolic Syndrome) กลับมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว ต้นเหตุของการเพิ่มขึ้นของจำนวนผู้เป็นโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงในปัจจุบัน คือการเพิ่มขึ้นของจำนวนคนอ้วน เพราะอุปนิสัยการกินอยู่ที่เปลี่ยนไป มีการเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลงในการใช้ชีวิตประจำวัน กินอาหารที่มีไขมันในเลือดเพิ่มสูงขึ้น เป็นตัวนำไปสู่การเกิดโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง ในปีงบประมาณ 2565 จึงได้มีการตรวจคัดกรองสุขภาพของประชาชนในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านอัยเยอร์เวง อายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน 2,412 ราย เพื่อติดตาม ค้นหากลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยที่เป็นโรค เพื่อนำมาปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อลดอัตราการเกิดโรคใหม่ ซึ่งเดิมผู้ป่วยที่รับการรักษาแล้ว 480 ราย ซึ่งกลุ่มผู้ป่วยเหล่านี้มีความเสี่ยงอัมพฤกษ์ อัมพาต โรคหลอดเลือดหัวใจและจากสถิติผู้ป่วยที่มารักษาในโรงพยาบาล ส่วนใหญ่พบป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานเป็นจำนวนมาก ซึ่งเป็นโอกาสเสี่ยงของการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดในอนาคต ในการลดการเกิดของโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไขมันในเลือดสูง โรคอ้วน โรคหัวใจและหลอดเลือดต้องทำโดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของคนในสังคมทั้งหมดด้วยการรณรงค์วิถีชีวิต ทำให้เกิดความตระหนักในอันตรายของอาหารที่ทำให้เกิดความอ้วนอันตรายของชีวิตที่กินๆนอนๆไม่ขยับเขยี้ยน ไม่ออกกำลังกาย การปล่อยปละละเลยไม่ควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่างๆที่จะส่งผลให้โรคแทรกซ้อนเกิดเร็วขึ้น จากสถานการณ์กลุ่มอายุ 35 ปี ที่ได้รับการคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ในปีงบประมาณ 2565 พบกลุ่มเสี่ยงป่วย โรคความดันโลหิตสูง จำนวน 249 ราย ด้วยเหตุผลดังกล่าวโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านอัยเยอร์เวง จึงได้จัดทำโครงการเพื่อให้ประชาชนในชุมชนเขตพื้นที่รับผิดชอบทั้งกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยง รวมถึงประชาชนทั่วไป ให้ได้รับความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องถึงพฤติกรรมของการเกิดโรค และสามารถรับผิดชอบในการจัดการตนเองเพื่อป้องกันการเกิดปัญหาแทรกซ้อนต่างๆ ตลอดจนดำรงรักษาสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองได้อย่างยั่งยืนต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย อายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรค NCD ทุกคน
- กลุ่มเสี่ยงน้อย กลุ่มเสี่ยงมาก กลุ่มเสี่ยงป่วย ได้รับการติดตาม ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดการป่วยของโรค NCD
- กลุ่มเสี่ยงป่วยมีการลดระดับความเสี่ยลดลง
- เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการมีการรับรู้ความสามารถ การกำกับพฤติกรรม และการดูแลสุขภาพของตนเองในการปรับพฤติกรรมที่เพิ่มขึ้นเพื่อลดความเสี่ยงโรค NCD
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมการติดตามและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรอง ร้อยละ 90
- กลุ่มเสี่ยง กลุ่มเสี่ยงป่วย ได้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงเกิดโรค NCD
- อัตราการป่วยรายใหม่มีค่าลดลง
- กลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป มีการตระหนักในการดูแลตนเองไม่ให้เกิดโรค NCD ทุกคน
- กลุ่มป่วย ลดอัตราการเกิด Stroke
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมการติดตามและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) |
||
วันที่ 8 สิงหาคม 2566 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ1 ประชุมวางแผนงาน 2 ติดต่อประสานงาน และส่งหนังสือเชิญให้กับวิทยากรและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง 3 จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ต่างๆที่เกี่ยวข้อง 4 ดำเนินกิจกรรมตามกำหนดการที่วางไว้ 5 สรุปผลรายงานการดำเนินงาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีผู้ป่วยโรค และกลุ่มเสี่ยงโรค NCD ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของ รพ.สต.บ้านอัยเยอร์เวง เข้าร่วมอบรม จำนวน 120 คน
|
120 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย อายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรค NCD ทุกคน ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของประชากรกลุ่ม 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรอง |
|
|||
2 | กลุ่มเสี่ยงน้อย กลุ่มเสี่ยงมาก กลุ่มเสี่ยงป่วย ได้รับการติดตาม ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดการป่วยของโรค NCD ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 |
|
|||
3 | กลุ่มเสี่ยงป่วยมีการลดระดับความเสี่ยลดลง ตัวชี้วัด : อัตราผู้ป่วยรายใหม่ โรค NCD ลดลงจากปีที่ผ่านมา |
|
|||
4 | เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการมีการรับรู้ความสามารถ การกำกับพฤติกรรม และการดูแลสุขภาพของตนเองในการปรับพฤติกรรมที่เพิ่มขึ้นเพื่อลดความเสี่ยงโรค NCD ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงสามารถควบคุมตัวเองไม่ให้ป่วยด้วยโรค NCD มีความรู้ในการดูแลตนเอง 3 อ 5 ส ได้อย่างเข้าใจ ติดตามความดันโลหิต ค่าเบาหวาน มีค่าลดลง ตามลำดับ |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | 120 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 0 | 120 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย อายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรค NCD ทุกคน (2) กลุ่มเสี่ยงน้อย กลุ่มเสี่ยงมาก กลุ่มเสี่ยงป่วย ได้รับการติดตาม ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดการป่วยของโรค NCD (3) กลุ่มเสี่ยงป่วยมีการลดระดับความเสี่ยลดลง (4) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการมีการรับรู้ความสามารถ การกำกับพฤติกรรม และการดูแลสุขภาพของตนเองในการปรับพฤติกรรมที่เพิ่มขึ้นเพื่อลดความเสี่ยงโรค NCD
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมการติดตามและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการติดตามและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 66-L4131-01-16
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายซอฟฟาน แปแนะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......