กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง


“ โครงการส่งเสริมการรับประทานอาหารและการใช้ยาบำรุงในหญิงตั้งครรภ์เพื่อป้องกันการเกิดภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ ”

ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรอาซีกิน มุซิ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการรับประทานอาหารและการใช้ยาบำรุงในหญิงตั้งครรภ์เพื่อป้องกันการเกิดภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์

ที่อยู่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 66-L4131-01-17 เลขที่ข้อตกลง 29/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการรับประทานอาหารและการใช้ยาบำรุงในหญิงตั้งครรภ์เพื่อป้องกันการเกิดภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการรับประทานอาหารและการใช้ยาบำรุงในหญิงตั้งครรภ์เพื่อป้องกันการเกิดภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการรับประทานอาหารและการใช้ยาบำรุงในหญิงตั้งครรภ์เพื่อป้องกันการเกิดภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 66-L4131-01-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภาวะโลหิตจางขณะตั้งครรภ์เป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุขทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย โดยพบว่าอัตราการเกิด ภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ทั่วโลก คิดเป็นร้อยละ 83.2 ซึ่งพบมากในแถบแอฟริกา อเมริกา และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตามลำดับ สำหรับในประเทศไทยพบหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางคิดเป็นร้อยละ 17.33 ซึ่งใกล้เคียงกับข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ ที่มีภาวะโลหิตจางในเขตสุขภาพที่ 12 ปี 2558 - 2560 คิดเป็นร้อยละ 16.89, 17.33 และ 16.50 (วารสารกระทรวงสาธารณสุข, 2021) จะเห็นได้ว่าต้องได้รับการแก้ไข งานอนามัยแแม่และเด็กเป็นบริการสุขภาพขั้นพื้นฐานที่สำคัญของการพัฒนาคุณภาพประชากร ซึ่งเริ่มตั้งแต่การดูแลครรภ์ เพื่อให้การตั้งครรภ์และการคลอดอย่างมีคุณภาพ มารดาและทารกปลอดภัยและมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง ซึ่งเป็นทรัพยากรอันทรงคุณค่าและเป็นอนาคตของชาติ จากการวิเคราะห์สถานการณ์งานอนามัยแม่และเด็กของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านอัยเยอร์เวง จากข้อมูลแสดงถึงสภาพปัญหาของงานอนามัยแม่และเด็กในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านอัยเยอร์เวง ปีงบ 2565 พบว่าหญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจางทั้งหมด 20 ราย สาเหตุเกิดจากการที่ขณะตั้งครรภ์มารดาเลือกรับประทานอาหารไม่เหมาะสมในช่วงการตั้งครรภ์ และการขาดความตระหนักในการรับประทานยาบำรุงครรภ์ ซึ่งพบได้จากการติดตามผลการตรวจเลือดครั้งที่ 1 และ 2 แนวทางการดูแลและป้องกันการเกิดปัญหาดังกล่าว คือต้องให้การดูแลที่มีคุณภาพมีมาตรฐาน เตรียมความพร้อมหญิงวัยเจริญพันธ์ให้ความรู้ความเข้าใจในการวางแผนครอบครัว หญิงตั้งครรภ์ได้รับบริการฝากครรภ์คุณภาพรับประทานอาหารที่เป็นประโยชน์และยาบำรุงครรภ์ และเสริมทักษะการดูแลหลังคลอด และทารกควรได้รับการเลี้ยงลูกด้วยนมมารดาอย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน การมีส่วนร่วมของชุมชนมีเครือข่ายที่เข้มแข็ง งานอนามัยแม่และเด็กโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านอัยเยอร์เวง ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาคุณภาพแม่และเด็กแบบองค์รวมให้ประสบความสำเร็จและมีคุณภาพจึงได้จัดทำโครงการเยี่ยมแม่ ดูแลลูฏ เพื่อดูแลสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์ และมารดาหลังคลอด ดังนั้น การที่จะลดปัญหาภาวะสุขภาพแม่และเด็กของตำบลอัยเยอร์เวงนั้น การดูแลหญิงตั้งครรภ์นั้น ควรได้รับการดูแลเป็นพิเศษตั้งแต่ขรธตั้งครรภ์ ขณะคลอด และหลังคลอด และจำเป็นต้องอาศัยความร่วมมืออย่างจริงจัง ตั้งแต่เจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่่จะต้องตระหนักถึงความสำคัญของปัญหา การให้บริการแก่กลุ่มเป้าหมายอย่างมีคุณภาพ ตลอดจนบุคคลที่มีบทบาทในชุมชน เช่น องค์การบริการส่วนท้องถิ่น ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ผดุงครรภ์โบราณ ซึ่งเป็นผู้ที่สามารถดูแลอนามัยของแม่และเด็กและอยู๋ใกล้ชิดกับชุมชนมากที่สุด ตั้งแต่การค้นหาหญิงตั้งครรภ์ การแนะนำให้ไปฝากครรภ์ทุกคน และการคลอดในสถานบริการ ดังนั้น เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่างๆที่จะเกิดขึ้นกับปัญหาสุขภาพของแม่และเด็ก และเพื่อแก้ไขปัญหางานอนามัยแม่และเด็กของตำบลอัยเยอร์เวง ที่สำคัญหญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลติดตามโดยชุมชนมีส่วน่ร่วมในการดูแล ตลอดจนการมีกิจกรรมเสริมสร้างแรงจูงใจให้กับหญิงตั้งครรภ์ และเกิดการพัฒนากลุ่มเครือข่ายงานอนามัยแม่และเด็กอย่างต่อเนื่อง องค์การบริหารส่วนตำบลอัยเยอร์เวง ร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านอัยเยอร์เวง ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของงานอนามัยแม่และเด็ก จึงได้จัดทำโครงการ เพื่อเป็นส่วนหนึ่งที่สำคัญในการวางแผนการดูแลที่ถูกต้องเหมาะสม และเพื่อให้เกิดความปลอดภัยทั้งมารดาและทารก ตั้งแต่ในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และระยะหลังคลอด สอดคล้องตามนโยบายลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้วัยเจริญพันธ์เมื่อรู้ว่าตั้งครรภ์ เกิดความตระหนักต่อการรับประทานอาหารและยาบำรุงครรภ์
  2. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจเลือดอย่างน้อย 2 ครั้ง ในช่วงตั้งครรภ์
  3. เพื่อเฝ้าระวังและส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์สามารถดูแลตนเองป้องกันอันตรายจากภาวะแทรกซ้อนส่งผลให้มีสุขภาวะที่ดีลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย และไม่ตายด้วย
  4. เพื่อกระตุ้นให้หญิงตั้งครรภ์มาคลอดในสถานบริการและได้รับการส่งต่ออย่างปลอดภัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้ในกลุ่มหญิงวัยเจริญพันธ์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 100
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. หญิงตั้งครรภ์ เกิดความตระหนักต่อการรับประทานอาหารและยาบำรุงครรภ์มากกว่าหรือเท่ากับ ร้อยละ 60
  2. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจเลือดอย่างน้อย 2 ครั้งในช่วงตั้งครรภ์ และหลังคลอด มากกว่าหรือเท่ากับ ร้อยละ 60 และได้รับการติดตามอย่างต่อเนื่องโดยอสม. และเครือข่ายสุขภาพ
  3. มารดาและทารก ได้รับการดูแลสุขภาพที่ได้มาตรฐาน ตั้งแต่การตั้งครรภ์ การคลอด และสุขภาพที่ดีตามนโยบายลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย และไม่ตายด้วยสาเหตุที่ป้องกันได้
  4. หญิงตั้งครรภ์เกิดการตื่นตัวในการมาคลอดในสถานบริการและได้รับการส่งต่ออย่างปลอดภัย ตลอดจนได้รับการดูแลหลังคลอดตามมาตรฐานการดูแลหลังคลอด ร้อยละ 92
  5. เด็กแรกเกิด - 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 90
  6. หญิงวัยเจริญพันธ์ มารับบริการฝากครรภ์ครั้งแรกทันที เมื่อรู้ตัวว่าตั้งครรภ์ และตระหนักถึงการฝากครรภ์
  7. ชุมชนมีระบบการดูแล เฝ้าระวัง อนามัยแม่และเด็กที่มีประสิทธิภาพ ส่งผลให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืนต่อไป
  8. หญิงตั้งครรภ์หลังคลอดไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น ตกเลือด ซีด

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้ในกลุ่มหญิงวัยเจริญพันธ์

วันที่ 3 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1 ประชุมวางแผนงาน 2 ติดต่อประสานงาน และส่งหนังสือเชิญให้กับวิทยากรและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง 3 จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ต่างๆที่เกี่ยวข้อง 4 ดำเนินกิจกรรมตามกำหนดการที่วางไว้ 5 สรุปผลรายงานการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-หญิงวัยเจริญพันธ์เมื่อรู้ว่าตั้งครรภ์ เกิดความตระหนักต่อการรับประทานอาหารและยาบำรุงครรภ์ -หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจเลือดและได้รับการติดตามผลเลือดมากขึ้น -หญิงตั้งครรภ์สามารถดูแลตัวเองป้องกันอันตรายจากภาวะแทรกซ้อนได้ -หญิงวัยเจริญพันธ์ จำนวน 100 คน

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้วัยเจริญพันธ์เมื่อรู้ว่าตั้งครรภ์ เกิดความตระหนักต่อการรับประทานอาหารและยาบำรุงครรภ์
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60

 

2 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจเลือดอย่างน้อย 2 ครั้ง ในช่วงตั้งครรภ์
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60

 

3 เพื่อเฝ้าระวังและส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์สามารถดูแลตนเองป้องกันอันตรายจากภาวะแทรกซ้อนส่งผลให้มีสุขภาวะที่ดีลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย และไม่ตายด้วย
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ คลอดปลอดภัย

 

4 เพื่อกระตุ้นให้หญิงตั้งครรภ์มาคลอดในสถานบริการและได้รับการส่งต่ออย่างปลอดภัย
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์คลอดโรงพยาบาลทุกคน

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 100 100
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้วัยเจริญพันธ์เมื่อรู้ว่าตั้งครรภ์ เกิดความตระหนักต่อการรับประทานอาหารและยาบำรุงครรภ์ (2) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจเลือดอย่างน้อย 2 ครั้ง ในช่วงตั้งครรภ์ (3) เพื่อเฝ้าระวังและส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์สามารถดูแลตนเองป้องกันอันตรายจากภาวะแทรกซ้อนส่งผลให้มีสุขภาวะที่ดีลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย และไม่ตายด้วย (4) เพื่อกระตุ้นให้หญิงตั้งครรภ์มาคลอดในสถานบริการและได้รับการส่งต่ออย่างปลอดภัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ในกลุ่มหญิงวัยเจริญพันธ์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมการรับประทานอาหารและการใช้ยาบำรุงในหญิงตั้งครรภ์เพื่อป้องกันการเกิดภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 66-L4131-01-17

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนูรอาซีกิน มุซิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด