กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เกะรอ


“ โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเยาวชนมุสลิมตำบลเกะรอ ปีงบประมาณ 2566 ”

ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางจิราวดี หะยีตันตู

ชื่อโครงการ โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเยาวชนมุสลิมตำบลเกะรอ ปีงบประมาณ 2566

ที่อยู่ ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 66-L4156-01-01 เลขที่ข้อตกลง 01/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเยาวชนมุสลิมตำบลเกะรอ ปีงบประมาณ 2566 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เกะรอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเยาวชนมุสลิมตำบลเกะรอ ปีงบประมาณ 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเยาวชนมุสลิมตำบลเกะรอ ปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 66-L4156-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 72,875.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เกะรอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)       การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย(การเข้าสุนัต) คือ การทำความสะอาดร่างกายที่ต้องตัดแต่งเพื่อขจัดความสกปรกและเหตุผลทางการแพทย์เกี่ยวกับเรื่องนี้ ท่านนบีมูฮำหมัดศ็อลฯได้ให้โอวาทไว้ ดังนี้ ธรรมชาติ 5 สิ่ง (ในร่างกายมนุษย์) ที่ต้องได้รับการตกแต่ง คือการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ ขจัดขนในร่มผ้า ติดเล็บและการตกแต่งหนวดเครา การตัดหนังหุ้มปลายอวยวะสืบพันธ์ของชาย เพื่อความสะอาดเป็นสำคัญ จากงานวิจัยพบว่าการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย สามารถลดความเสี่ยงการติดเชื้อHIV ได้ร้อยละ 50-60 เนื่องจากผิวหนังบริเวณนี้ จะมีต่อมซึ่งจะสร้างสารที่เรียกว่า smegmaหรือขี้เปียก หากมีหนังหุ้มไม่สามารถเปิดออกล้างได้ จะทำให้สารดังกล่าวคั่ง ซึ่งจะก่อให้เกิดกลิ่น  การติดเชื้อรวมเกิดมะเร็งที่องคชาติได้(นพ.อนุพงศ์ ชิตวรากร) นอกจากนี้การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย ผู้ขลิบจะลดโอกาสเกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เช่น ซิฟิลิส แผลริมอ่อน และลดความเสี่ยงของมะเร็งองคชาติ และถ้าหากขลิบในเด็กทารก ก็จะลดโอกาสเกิดการติดเชื้อของทางเดินปัสสาวะในเด็กได้ด้วย ผู้หญิงที่เป็นคู่ของผู้ชายที่ขลิบจะลดความเสี่ยงของการเกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และลดอัตราเสี่ยงการเกิดมะเร็งปากมดลูกด้วย จากบริบทพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนใต้ พบว่า การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย หรือ “คีตาล(ภาษาอาหรับ) หรือ  “ทำสุนัต”(ภาษามลายู)มักทำกับหมอบ้าน หรือ “โต๊ะมูเด็ง”จากความเชื่อและประเพณีของชุมชน โดยผู้ปกครองเด็กเชื่อว่า “การทำกับแพทย์  จะทำให้อวัยวะเพศไม่แข็งแรง”“การทำกับโต๊ะมูเด็งเป็นประเพณีที่คนเฒ่าคนแก่เคยทำกัน” เป็นต้นซึ่งที่ผ่านมาพบว่า การทำสุนัตกับโต๊ะมูเด็งมักจะมีเหตุการณ์เลือดออกมาก(bleeding) ทำให้เกิดภาวะช็อคหรือการติดเชื้อ เช่น ติดเชื้อตับอักเสบ เชื้อ HIV จากการใช้เครื่องร่วมกันโดยไม่ได้ล้างทำความสะอาดอย่างถูกวิธี
      องค์การบริหารส่วนตำบลเกะรอ ได้เล็งเห็นความสำคัญชองการทำขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายหรือสุนัตในกลุ่มเด็กและเยาวชน  ในพื้นที่ โดยมีทีมแพทย์ พยาบาล และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ที่มีความรู้ ทักษะด้านการขลิบหนังหุ้มปลายแบบปราศจากเชื้อ เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้รับการบริการที่ปลอดภัยและมีคุณภาพมากที่สุด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้บริการทำขลิบหนังหุ้มอวัยวะเพศชายแก่เด็กและเยาวชนมุสลิม ในตำบลเกะรอ เพื่อลดภาวะเสี่ยงการติดเชื่อ และภาวะออกเลือดมาก (bleeding) ตลอดจนการรักษาความสะอาดของเพศชาย
  2. เพื่อรณรงค์และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดเชื้อต่างๆ
  3. เพื่อให้เยาวชนและผู้ด้อยโอกาสในตำบลเกะรอ สามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. บริการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย
  2. ให้บริการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย และให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันโรคติดต่อ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กและเยาวชนมุสลิมได้รับการทำงานสุนัต(ขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย)
  2. สร้างความตระหนัก ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดเชื้อต่างๆ
  3. เยาวชนและผู้ด้อยโอกาสในตำบลท่าธง สามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ให้บริการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย และให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันโรคติดต่อ

วันที่ 3 พฤษภาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

วิธีดำเนินการ
1.กิจกรรมเตรียมความพร้อม           1) จัดประชุมคณะกรรมการ และผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายเพื่อวางแผนการดำเนินงานโครงการ 2) เขียนโครงการเพื่อเสนอคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลเกะรอ เพื่อขออนุมัติเงินสนับสนุนโครงการ 3) ประชาสัมพันธ์ ลงพื้นที่สำรวจและรับสมัครเด็กและเยาวชนมุสลิมเข้าร่วมโครงการ 2.กิจกรรมออกบริการทำสุนัตแก่เด็กและเยาวชนมุสลิม 1) กิจกรรม ให้ความรู้การดูแลสุขภาพ (การป้องกันโรคติดต่อ) แก่กลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งผู้ปกครองเด็ก 2) กิจกรรม ขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ( Circumcision) 3.การติดตามและประเมิน เพื่อติดตามและประเมินอาการหลังทำสุนัต และความพึงพอใจของผู้ปกครองเด็ก 4.สรุปผลการดำเมินโครงการในภาพรวม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เด็กและเยาวชนมุสลิมได้รับการทำงานสุนัต(ขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย)
  2. สร้างความตระหนัก ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดเชื้อต่างๆ
  3. เยาวชนและผู้ด้อยโอกาสในตำบลท่าธง สามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค

 

115 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้บริการทำขลิบหนังหุ้มอวัยวะเพศชายแก่เด็กและเยาวชนมุสลิม ในตำบลเกะรอ เพื่อลดภาวะเสี่ยงการติดเชื่อ และภาวะออกเลือดมาก (bleeding) ตลอดจนการรักษาความสะอาดของเพศชาย
ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชนมุสลิมกลุ่มเป้าหมายเข้ารับบริการทำขลิบหนังหุ้มอวัยวะเพศชาย ร้อยละ 80
80.00 100.00

 

2 เพื่อรณรงค์และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดเชื้อต่างๆ
ตัวชี้วัด : ทุกหมู่บ้านในชุมชนตำบลเกะรอมีการรณรงค์และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดเชื้อต่างๆ
7.00 7.00

 

3 เพื่อให้เยาวชนและผู้ด้อยโอกาสในตำบลเกะรอ สามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค
ตัวชี้วัด : เยาวชนและผู้ด้อยโอกาสในตำบลเกะรอทุกหมู่บ้าน สามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค
7.00 7.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40 40
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้บริการทำขลิบหนังหุ้มอวัยวะเพศชายแก่เด็กและเยาวชนมุสลิม ในตำบลเกะรอ เพื่อลดภาวะเสี่ยงการติดเชื่อ และภาวะออกเลือดมาก (bleeding) ตลอดจนการรักษาความสะอาดของเพศชาย (2) เพื่อรณรงค์และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดเชื้อต่างๆ (3) เพื่อให้เยาวชนและผู้ด้อยโอกาสในตำบลเกะรอ สามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) บริการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย (2) ให้บริการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย และให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันโรคติดต่อ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเยาวชนมุสลิมตำบลเกะรอ ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 66-L4156-01-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางจิราวดี หะยีตันตู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด