กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปริก


“ โครงการ เฝ้าระวัง ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยอายุ 0 – 5 ปี “วัยจิ๋วกับพัฒนาการรอบด้าน” ประจำปี 2566 ”

ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางศิริจันทร์พร พลเพ็ชร

ชื่อโครงการ โครงการ เฝ้าระวัง ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยอายุ 0 – 5 ปี “วัยจิ๋วกับพัฒนาการรอบด้าน” ประจำปี 2566

ที่อยู่ ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L5248-1-5 เลขที่ข้อตกลง 6/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ เฝ้าระวัง ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยอายุ 0 – 5 ปี “วัยจิ๋วกับพัฒนาการรอบด้าน” ประจำปี 2566 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปริก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ เฝ้าระวัง ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยอายุ 0 – 5 ปี “วัยจิ๋วกับพัฒนาการรอบด้าน” ประจำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ เฝ้าระวัง ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยอายุ 0 – 5 ปี “วัยจิ๋วกับพัฒนาการรอบด้าน” ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 66-L5248-1-5 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 31,330.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปริก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาการอบรมเลี้ยงดูและพัฒนาการเด็กปฐมวัยยังคงเป็นปัญหาที่สำคัญ โดยเฉพาะเด็กในวัย แรกเกิด - 3 ปีแรก ซึ่งเป็นช่วงที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทั้งการเจริญเติบโต พัฒนาการทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา โดยมีครอบครัวเป็นกลไกหลักในการดูแลและส่งเสริมให้มีการเจริญเติบโต และพัฒนาการที่สมวัย บิดามารดาและคนในครอบครัวจะต้องมีความรู้ และการปฏิบัติเกี่ยวกับการอบรมเลี้ยงดูและส่งเสริมพัฒนาการเด็กที่เหมาะสม ในขณะที่พ่อแม่ ผู้เลี้ยงดูที่มีความรอบรู้ด้านสุขภาพต่ำ ส่งผลลัพธ์ทางลบต่อภาวะสุขภาพการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็ก
จากการศึกษาสถานการณ์พัฒนาการของเด็กปฐมวัย ปี พ.ศ.2563 – 2565 พบว่า เด็กไทยมีพัฒนาการสมวัยทุกด้าน ร้อยละ 90.19 , 84.84 และ 81.20 (1 ตุลาคม 2564 – 18 กันยายน 2565) (HDC service, 2565) และในจังหวัดสงขลาเด็กที่มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 91.33 , 85.8 และ 77.36 (1 ตุลาคม 2564 – 18 กันยายน 2565) ในส่วนของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลความเสม็ดเด็กที่มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 97.03 , 81.13 และ 89.13 (1 ตุลาคม 2564 – 18 กันยายน 2565) (HDC songkhla, 2565) ซึ่งจะเห็นได้ชัดว่าเด็กที่มีพัฒนาการสมวัยมีแนวโน้มลดลง ทั้งนี้อาจเป็นเพราะสถานการณ์การแพร่ระบาดไวรัสโคโรน่า (Covid-19) ทำให้การเข้าถึงบริการตรวจคัดกรองพัฒนาการของเด็กทุกกลุ่มวัยมีแนวโน้มลดลง รวมถึงการจำกัดบริเวณการเรียนรู้ของเด็กเป็นอย่างมาก จึงทำให้การส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยนั้นลดลง และไม่เป็นไปตามแผนที่กำหนด ดังนั้นจึงมีความจำเป็นอย่างเร่งด่วนในการฝึกทักษะให้กับพ่อแม่ผู้เลี้ยงดูเด็กสามารถประเมิน และส่งเสริมพัฒนาการบุตรตามวัย โดยใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) เมื่อกลับไปอยู่ที่บ้านได้ การสร้างความตระหนักรู้ในการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการตามวัย ให้กับพ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูหลัก จึงเป็นปัจจัยสำคัญที่จะช่วยส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการสมวัย จากนโยบายและแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) และแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ.2560 – 2564 ประกอบกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ.2560-2564 ได้กำหนดยุทธศาสตร์การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ มีวัตถุประสงค์ที่จะส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยมีการพัฒนาทักษะทางสมอง ทักษะการคิดวิเคราะห์และทักษะสังคมที่เหมาะสม โดยเน้นการส่งเสริมสุขภาพใน 4 ด้าน ดังนี้ คือ ด้านโภชนาการและการเจริญเติบโต พัฒนาการ ทันตสุขภาพ และการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ, 2563) ดังนั้น โรงพยบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควนเสม็ดมีความคิดเห็นที่จะจัดโครงการเฝ้าระวัง ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (วัยจิ๋วกับพัฒนาการรอบด้าน) ตั้งแต่แรกเกิด - ๕ ปี เพื่อเป็นการส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดความรอบรู้ในการส่งเสริมและเฝ้าระวังพัฒนาการเด็กปฐมวัย และเป็นการเตรียมความพร้อมของมารดาหรือผู้เลี้ยงดูหลักให้สามารถใช้คู่มือ DSPM ในการประเมินเฝ้าระวัง โดยการสอนฝึกทักษะและส่งเสริมพัฒนาการลูกตามวัย การฝึกทักษะมารดาหรือผู้เลี้ยงดูหลักให้สามารถประเมิน เฝ้าระวัง และส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย รวมถึงศึกษาปัญหา อุปสรรคของเจ้าหน้าที่และพ่อแม่ ผู้ปกครองในการประเมินและการใช้คู่มือ DSPM เพื่อให้เด็กไทยมีพัฒนาการสมวัยในทุกๆด้าน พร้อมเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศชาติต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้มารดาหรือผู้เลี้ยงดูหลักมีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กในแต่ละช่วงวัย
  2. 2. เพื่อให้มารดาหรือผู้เลี้ยงดูหลักมีทักษะและมีความเข้าใจในการประเมิน เฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM)
  3. 3. เพื่อศึกษาปัญหา อุปสรรคของเจ้าหน้าที่และพ่อแม่ ผู้ปกครองในการประเมินและการใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 104
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. มารดาหรือผู้เลี้ยงดูหลักมีความรู้ความเข้าใจในการเจริญเติบโตและพัฒนาการเด็กแต่ละช่วงวัย
    2. มารดาหรือผู้เลี้ยงดูหลักสามารถใช้คู่มือการประเมินเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) ได้
      อย่างถูกต้อง

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้มารดาหรือผู้เลี้ยงดูหลักมีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กในแต่ละช่วงวัย
    ตัวชี้วัด : 1. ระดับความพึงพอใจในการร่วมกิจกรรม มากกว่าร้อยละ 80

     

    2 2. เพื่อให้มารดาหรือผู้เลี้ยงดูหลักมีทักษะและมีความเข้าใจในการประเมิน เฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM)
    ตัวชี้วัด : 2. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจในการใช้คู่มือการประเมินการเฝ้าระวัง ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (จากการปฏิบัติ)

     

    3 3. เพื่อศึกษาปัญหา อุปสรรคของเจ้าหน้าที่และพ่อแม่ ผู้ปกครองในการประเมินและการใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM)
    ตัวชี้วัด : 3. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีทักษะในการประเมินการเฝ้าระวัง ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (จากการปฏิบัติ)

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 104
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 104
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้มารดาหรือผู้เลี้ยงดูหลักมีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กในแต่ละช่วงวัย (2) 2. เพื่อให้มารดาหรือผู้เลี้ยงดูหลักมีทักษะและมีความเข้าใจในการประเมิน เฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) (3) 3. เพื่อศึกษาปัญหา อุปสรรคของเจ้าหน้าที่และพ่อแม่ ผู้ปกครองในการประเมินและการใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM)

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการ เฝ้าระวัง ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยอายุ 0 – 5 ปี “วัยจิ๋วกับพัฒนาการรอบด้าน” ประจำปี 2566 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 66-L5248-1-5

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางศิริจันทร์พร พลเพ็ชร )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด