กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย


“ โครงการสุขภาพจิต พิชิตสุขภาพใจ ลดช่องว่างระหว่างวัย เพิ่มความเข้าใจในครอบครัว ประจำปี 2566 ”

นายรมย์ จันมุณี และ นายทิวากร เรือนแก้ว และ น.ส. กรณัฏฐ์ ทองนิมิตร

หัวหน้าโครงการ
นายรมย์ จันมุณี

ชื่อโครงการ โครงการสุขภาพจิต พิชิตสุขภาพใจ ลดช่องว่างระหว่างวัย เพิ่มความเข้าใจในครอบครัว ประจำปี 2566

ที่อยู่ นายรมย์ จันมุณี และ นายทิวากร เรือนแก้ว และ น.ส. กรณัฏฐ์ ทองนิมิตร จังหวัด

รหัสโครงการ 2566-L8404-2-15 เลขที่ข้อตกลง 15/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสุขภาพจิต พิชิตสุขภาพใจ ลดช่องว่างระหว่างวัย เพิ่มความเข้าใจในครอบครัว ประจำปี 2566 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน นายรมย์ จันมุณี และ นายทิวากร เรือนแก้ว และ น.ส. กรณัฏฐ์ ทองนิมิตร

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสุขภาพจิต พิชิตสุขภาพใจ ลดช่องว่างระหว่างวัย เพิ่มความเข้าใจในครอบครัว ประจำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสุขภาพจิต พิชิตสุขภาพใจ ลดช่องว่างระหว่างวัย เพิ่มความเข้าใจในครอบครัว ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ นายรมย์ จันมุณี และ นายทิวากร เรือนแก้ว และ น.ส. กรณัฏฐ์ ทองนิมิตร รหัสโครงการ 2566-L8404-2-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,432.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยสังคมและปัจจุบันที่ต้องมีการทำงานแข่งขันกับเวลา บวกกับเป็นยุคที่มีเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทกับการดำเนินชีวิตของประชาชน สังคม ครอบครัว มากมายจนบางครั้ง ''เป็นสังคมก้มหน้า''คนอยู่ใกล้กันเหมือนจะไม่ได้คุยกัน เด็กติดเกมส์ ผู้ใหญ่ติดไลน์ ติดเฟสบุ้ค ความสัมพันธ์ในครอบครัวค่อยๆห่างกันจนเกิดปัญหามากมาย เช่น ปัญหาครอบครัวแตกแยก หย่าร้าง ความรุนแรงในครอบครัว บางครั้งนำไปสู่ปัญหาใหญ่ คือ ปัญหาสภาพจิตใจ ปัญหายาเสพติด ซึ่งปัญหาเหล่านี้ไม่มีใครต้องการให้เกิดขึ้นกับครอบครัวตัวเอง หรือ แม้สังคมก็ไม่ต้องการให้เกิดขึ้น ซึ่งปัญหาเหล่านี้เกิดขึ้นเพราะการไม่มีเวลาให้แก่กัน ความเข้าใจที่ไม่ตรงกัน ต่างคนต่างความคิด ทั้งๆที่ความรักความผูกพันของคนในครอบครัว คือ สิ่งสำคัญได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของสถาบันครอบครัว ดังนั้น ทางผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วย และกรรมการหมู่บ้าน เล็งเห็นความสำคัญถึงปัญหานี้ จึงได้จัดทำโครงการ สุขภาพจิต พิชิตสุขภาพใจ ลดช่องว่างระหว่างวัย เพิ่มความเข้าใจในครอบครัว ขึ้นมา เพื่อเป็นการลดช่องว่างของสมาชิกในครอบครัว และสังคมให้มีความรักความผูกพัน มีความเห็นอกเห็นใจ เข้าใจกันเพื่อเป็นการลดปัญหาดังกล่าว โดยเน้นให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้มี สุขภาพจิตดี สุขภาพกายดี สุขภาพใจดี เมื่อสามสิ่งนี้มาร่วมกันแล้วชีวิตก็จะมีความสุขทั้งในครอบครัว และ สังคมได้อย่างมีความสุขตลอดไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อลดอัตราเยาวชนที่มีเสี่ยงต่อการเป็นนักสูบหน้าใหม่
  2. 2. เพื่อให้เกิดนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
  3. 3. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้เห็นถึงสาเหตุของปัญหาสุขภาพในแต่ละวัน ปัญหาสุขภาพจิต ในครอบครัวและภาวะเครียด
  4. 4. เพื่อส่งเสริมให้คนในครอบครัวมีเวลาให้กันและกัน เข้าใจกัน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการสุขภาพจิต พิชิตสุขภาพใจ ลดช่องว่างระหว่างวัย เพิ่มความเข้าใจในครอบครัว
  2. โครงการสุขภาพจิต พิชิตสุขภาพใจ ลดช่องว่างระหว่างวัย เพิ่มความเข้าใจในครอบครัว

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 10
กลุ่มวัยทำงาน 15
กลุ่มผู้สูงอายุ 15
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.มีความเข้าใจกันในปัญหาสุขภาพกันมากขึ้น มีทักษะในการปฎิบัติตัวสามารถแก้ปัญหาต่างๆ ในผู้รับการอบรม 2.ส่งเสริมสุขภาพจิตลดภาวะซึมเศร้า ในครอบครัวอันเป็นปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพทางจิต สุขภาพทางกาย สุขภาพทางใจ ที่ก่อให้เกิดโรคเครียด โรคซึมเศร้า
3.ผู้เข้าร่วมโครงการได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และช่วยกันแก้ปัญหาทางสังคมได้ระดับหนึ่ง 4.กลุ่มคนสามวัยมีทัศนคติที่ดีต่อกันและร่วมกันได้อย่างมีความสุข มีคุณภาพชีวิตที่ดี


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. โครงการสุขภาพจิต พิชิตสุขภาพใจ ลดช่องว่างระหว่างวัย เพิ่มความเข้าใจในครอบครัว

วันที่ 1 มกราคม 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

08.00-08.45 ลงทะเบียน 08.45-09.00 ประธานเปิดพิธี 09.00-12.00 วิทยากรบรรยายหัวข้อ                   สุขภาพจิต พิชิตสุขภาพใจ                   การใช้ชีวิตร่วมกันของคนต่างวัยให้มีความสุข                   การค้นหาความต้องการ มุมมองของแต่ละกลุ่มวัย 12.00-13.00  พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00-16.00  กิจกรรมกลุ่ม การค้นหาความต้องการ มุมมองของแต่ละกลุ่มวัย                     ภูมิคุ้มกันที่สำคัญของครอบครัวคืออะไร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.มีความเข้าใจกันในปัญหาสุขภาพกันมากขึ้น มีทักษะในการปฏิบัติตัวสามารถแก้ปัญหาต่างๆในผู้รับการอบรม 2.ส่งเสริมสุขภาพจิตลดภาวะซึมเศร้า ในครอบครัวอันเป็นปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพทางจิต สุขภาพทางกาย สุขภาพทางใจ ที่ก่อให้เกิดโรคเครียด โรคซึมเศร้า ฯลฯ 3.ผู้เข้าร่วมโครงการได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และช่วยกันแก้ปัญหาทางสังคมได้ระดับหนึ่ง

 

40 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อลดอัตราเยาวชนที่มีเสี่ยงต่อการเป็นนักสูบหน้าใหม่
ตัวชี้วัด : ร้อยละมีความเข้าใจกันในปัญหาสุขภาพกันมากขึ้น มีทักษะในการปฏิบัติตัวสามารถแก้ปัญหาต่างๆในผู้รับการอบรม
1.00

 

2 2. เพื่อให้เกิดนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ร้อยละส่งเสริมสุขภาพจิตลดภาวะซึมเศร้า ในครอบครัวอันเป็นปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพทางจิต สุขภาพทางกาย สุขภาพทางใจ ที่ก่อให้เกิดโรคเครียด โรคซึมเศร้า ฯลฯ
1.00

 

3 3. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้เห็นถึงสาเหตุของปัญหาสุขภาพในแต่ละวัน ปัญหาสุขภาพจิต ในครอบครัวและภาวะเครียด
ตัวชี้วัด : ร้อยละผู้เข้าร่วมโครงการได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และช่วยกันแก้ปัญหาทางสังคมได้ระดับหนึ่ง
1.00

 

4 4. เพื่อส่งเสริมให้คนในครอบครัวมีเวลาให้กันและกัน เข้าใจกัน
ตัวชี้วัด : ร้อยละกลุ่มคนสามวัยมีทัศนคติที่ดีต่อกันและอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข มีคุณภาพชีวิตที่ดี
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 10
กลุ่มวัยทำงาน 15
กลุ่มผู้สูงอายุ 15
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อลดอัตราเยาวชนที่มีเสี่ยงต่อการเป็นนักสูบหน้าใหม่ (2) 2.  เพื่อให้เกิดนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ (3) 3. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้เห็นถึงสาเหตุของปัญหาสุขภาพในแต่ละวัน ปัญหาสุขภาพจิต ในครอบครัวและภาวะเครียด (4) 4. เพื่อส่งเสริมให้คนในครอบครัวมีเวลาให้กันและกัน เข้าใจกัน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการสุขภาพจิต พิชิตสุขภาพใจ ลดช่องว่างระหว่างวัย เพิ่มความเข้าใจในครอบครัว (2) โครงการสุขภาพจิต พิชิตสุขภาพใจ ลดช่องว่างระหว่างวัย เพิ่มความเข้าใจในครอบครัว

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสุขภาพจิต พิชิตสุขภาพใจ ลดช่องว่างระหว่างวัย เพิ่มความเข้าใจในครอบครัว ประจำปี 2566 จังหวัด

รหัสโครงการ 2566-L8404-2-15

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายรมย์ จันมุณี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด