กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการจัดการโรคเรื้อรังความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ปี 2566 ”
ตำบลพนมวังก์ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง



หัวหน้าโครงการ





ชื่อโครงการ โครงการจัดการโรคเรื้อรังความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ปี 2566

ที่อยู่ ตำบลพนมวังก์ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 2/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการจัดการโรคเรื้อรังความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ปี 2566 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพนมวังก์ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พนมวังก์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการจัดการโรคเรื้อรังความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการจัดการโรคเรื้อรังความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพนมวังก์ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 41,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พนมวังก์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นกลุ่มเป้าหมายคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 1,986 คน ได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง
  2. ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปกลุ่มเป้าหมายคัดกรองโรคเบาหวาน จำนวน 2,432 คน ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน
  3. 3.กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงจำนวน 534 คน มีความรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง
  4. 4.กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน จำนวน 306 คน มีความรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูก้อง
  5. 5.กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงป่วยเป็นผู้ป่วยรายใหม่
  6. 6.กลุ่มเสี่ยงเบาหวานป่วยเป็นผู้ป่วยรายใหม่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 2.ประชาสัมพันธ์ รณรงค์การคัดกรองประเมินความเสี่ยงความดันโลหิตสูงเบาหวาน คัดกรองสุขภาพ น้ำหนัก ส่วนสูงรอบเอว เจาะน้ำตาลปลายนิ้ว
  2. 1.ประชุม อสม.ฟื้นฟูความรู้ทักษะการคัดกรองการดูแลกลุ่มเสี่่ยง ดูแลกลุ่มป่วย
  3. 3.กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ติดตามดูแล ส่งต่อระบบการรักษา

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 1,300
กลุ่มผู้สูงอายุ 1,251
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 746
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 534
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป เป้าหมายคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ได้รับการคัดกรอง เฝ้าระวัง ปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพ 3 อ.2 ส.ร้อยละ 99
  2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยง ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ มีความรู้ ทัศคติการป้องกันโรค ลดการเกิดผู้ป่วยรายใหม่ร้อยละ 5
  3. กลุ่มเสี่ยง สงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ได้รับการติดตาม ส่งต่อเข้าระบบการักษาตามแนวทางการรักษาร้อยละ 100
  4. กลุ่มป่วยได้รับตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนโรคหัวใจและหลอดเลือด ตาไต เท้า ส่งต่อเข้าระบบรักษา ติดตามเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน มีความรู้ ความเข้าใจ มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมร้อยละ 100
  5. พัฒนาศักยภาพ อสม. เชี่ยวชาญการป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูง เบาหวานในชุมชนร้อยละ 80

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 2.ประชาสัมพันธ์ รณรงค์การคัดกรองประเมินความเสี่ยงความดันโลหิตสูงเบาหวาน คัดกรองสุขภาพ น้ำหนัก ส่วนสูงรอบเอว เจาะน้ำตาลปลายนิ้ว

วันที่ 1 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชาสัมพันธ์เสียงตามสายแผนปฏิบัติงานการจัดรณรงค์คัดกรอง จัดรณรงค์คัดกรองสุขภาพที่หอประชุมหมู่บ้าน จำนวน 8  หมู่่บ้าน -กลุ่ม 15-34 ปี คัดกรองโดยวาจาตามแบบคัดกรองความเสี่ยง วัดความดันโลหิต  ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ประเมินค่า  BMI  ประเมินสุขภาพจิต  จำนวน  981 คน  -กลุ่ม  35 ปีขึ้นไป  คัดกรองความดันโลหิต จำนวน  1,986  คน  คัดกรองเบาหวาน  จำนวน  2,432  คน  คัดกรองความเสี่ยงตามแบบประเมินคัดกรองความเสี่ยง เจาะน้ำตาลปลายนิ้ว วัดความดันโลหิต ชั่งน้ำหนัก  วัดส่วนสูง ประเมินสุขภาพจิต โดยีค่าใช้จ่ายดังนี้  1. ค่าแถบตรวจระดับน้ำตาลในเลือดพร้อมเข็มเจาะ 26  กล่อง(100 ชิ้น/กล่อง)  กล่องละ 1,000 บาท  เป็นเงิน 26,000  บาท 2.ค่าเครื่องเจาะน้ำตาลปลายนิ้ว (DTX) จำนวน 4 เครื่อง ๆละ 2,800  บาท  เป็นเงิน  11,200  บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

๑.ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย อายุ  15-34  ปี ได้รับคัดกรองด้วยวาจา  ร้อยละ  97 ๒.ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย อายุ 35  ปีขึ้นไป  ได้รีบการคัดกรอง ความดันโลหิตสูง  ร้อยละ  98.88 ๓.ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย อายุ  35  ปีขึ้นไป    ได้รับการคัดกรองเบาหวาน ร้อยละ  98.24

 

0 0

2. 1.ประชุม อสม.ฟื้นฟูความรู้ทักษะการคัดกรองการดูแลกลุ่มเสี่่ยง ดูแลกลุ่มป่วย

วันที่ 1 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมอบรมฟื้นฟูความรู้และทักษะ  อสม .ในการคัดกรอง ติดตาม  กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย  ที่ห้องประชุม รพ.สต.บ้านสี่แยกไสยวน จำนวน  128  คน  โดยมีค่าใช้จ่ายดังนี้  1.ค่าเอกสาร แบบบันทึกการตรวจคัดกรองความเสี่ยง จำนวน 2000 ชุดๆละ 1 บาท เป็นเงิน 2,600  บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ร้อยละ 100  อสม.มีความรู้และทักษะในการคัดกรอง ติดตามกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย
2.อสม.สามารถให้ความรู้กับแกนนำอาสาสมัครประจำครอบครัว ในการดูแลกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย

 

0 0

3. 3.กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ติดตามดูแล ส่งต่อระบบการรักษา

วันที่ 1 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กลุ่มเสี่ยง-ความดันโลหิตสูง  จำนวน  534 คน -เบาหวาน จำนวน 306  กลุ่มป่วย  -ความดันโลหิตสูง  896  คน  - เบาหวาน  386 คน  จำนวน ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ติดตามดูแลตามเกณฑ์  ส่งต่อระบบการรักษา    โดยมีค่าใช้จ่ายดังนี้  1.ค่าถ่ายเอกสารความรู้ 3 อ.2 ส.จำนวน 2000  หน้าๆละ 0.5 บาท เป็นเงิน  1000 บาท  2.ค่าถ่ายเอกสารแบบบันทึกวัดความดันโลหิตสูง (HMBP) จำนวน 500 ใบๆละ 1 บาท  เป็นเงิน  500  บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ร้อยละ 80 กลุ่มเสี่ยง ความดันโลหิสูง  เบาหวาน ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ติดตามดูแลตามเกณฑ์  ส่งต่อระบบการรักษา
    2.ร้อยละ 100 กลุ่มป่วย ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ติดตามดูแลรักษาต่อเนื่อง
    3.ร้อยละ 98 กลุ่มป่วย ได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ่้อน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นกลุ่มเป้าหมายคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 1,986 คน ได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูง
95.00 99.00

 

2 ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปกลุ่มเป้าหมายคัดกรองโรคเบาหวาน จำนวน 2,432 คน ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป ได้รับการคัดกรองเบาหวาน
95.00 99.00

 

3 3.กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงจำนวน 534 คน มีความรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงลดลง
5.78 3.78

 

4 4.กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน จำนวน 306 คน มีความรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูก้อง
ตัวชี้วัด : 1.ร้อนยละกลุ่มเสี่ยงเบาหวานลดลง
5.04 3.04

 

5 5.กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงป่วยเป็นผู้ป่วยรายใหม่
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงป่วยเป็นผู้ป่วยรายใหม่ ลดลง
0.81 0.51

 

6 6.กลุ่มเสี่ยงเบาหวานป่วยเป็นผู้ป่วยรายใหม่
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละกลุ่มเสี่ยงเบาหวานป่วยเป็นผู้ป่วยรายใหม่ ลดลง
0.16 0.60

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 3831
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 1,300
กลุ่มผู้สูงอายุ 1,251
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 746
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 0
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 534
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 0

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นกลุ่มเป้าหมายคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 1,986 คน ได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง (2) ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปกลุ่มเป้าหมายคัดกรองโรคเบาหวาน จำนวน 2,432 คน ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน (3) 3.กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงจำนวน 534 คน มีความรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง (4) 4.กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน จำนวน 306 คน  มีความรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูก้อง (5) 5.กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงป่วยเป็นผู้ป่วยรายใหม่ (6) 6.กลุ่มเสี่ยงเบาหวานป่วยเป็นผู้ป่วยรายใหม่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 2.ประชาสัมพันธ์ รณรงค์การคัดกรองประเมินความเสี่ยงความดันโลหิตสูงเบาหวาน คัดกรองสุขภาพ น้ำหนัก ส่วนสูงรอบเอว เจาะน้ำตาลปลายนิ้ว (2) 1.ประชุม อสม.ฟื้นฟูความรู้ทักษะการคัดกรองการดูแลกลุ่มเสี่่ยง ดูแลกลุ่มป่วย (3) 3.กลุ่มเสี่ยง  กลุ่มป่วย  ความดันโลหิตสูง  เบาหวาน ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ติดตามดูแล ส่งต่อระบบการรักษา

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการจัดการโรคเรื้อรังความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ปี 2566 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด