กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนประดู่


“ โครงการพิชิตยุงร้ายทำลายแหล่งเพาะพันธ์ป้องกันไข้เลือดออก ”

ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายอนุกูล ชุมทอง

ชื่อโครงการ โครงการพิชิตยุงร้ายทำลายแหล่งเพาะพันธ์ป้องกันไข้เลือดออก

ที่อยู่ ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 66 - ……………………… ปี-รหัสกองทุน 5 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 เมษายน 2566 ถึง 31 กรกฎาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพิชิตยุงร้ายทำลายแหล่งเพาะพันธ์ป้องกันไข้เลือดออก จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนประดู่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพิชิตยุงร้ายทำลายแหล่งเพาะพันธ์ป้องกันไข้เลือดออก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพิชิตยุงร้ายทำลายแหล่งเพาะพันธ์ป้องกันไข้เลือดออก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 66 - ……………………… ปี-รหัสกองทุน 5 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 เมษายน 2566 - 31 กรกฎาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนประดู่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันประชาชนส่วนใหญ่มักเป็นโรคไข้เลือดออกไม่ว่าจะเป็นเด็กหรือผู้ใหญ่ โรคไข้เลือดออกเกิดจากยุงที่เป็นพาหะนำโรคที่เป็นอันตรายต่อมนุษย์ เข้าสู่ต้นฤดูฝนโรคที่เราต้องเผชิญอีกหนึ่งโรค ก็คือโรคไข้เลือดออก ซึ่งเกิดขึ้นทุกปีและปีนี้ปี 2565 จากสถานการณ์ไข้เลือดออกเดือนมกราคม – เดือนกรกฎาคม 2565 ระยะเวลา 7 เดือน กลุ่มควบคุมโรคติดต่อ สสจ.พัทลุง มีรายงาน ผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกถึง 32 ราย ติดอันดับ 36 ของประเทศ และมีแนวโน้มที่จะมีผู้ป่วยเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ (ข้อมูลจากกรมควบคุมโรค) จากปัญหาที่เกิดขึ้น เมื่อมองย้อนมายังโรงเรียนซึ่งในบริเวณโดยรอบของโรงเรียนปากพะยูนพิทยาคาร มีต้นไม้จำนวนมากอากาศชื้นโดยเฉพาะอย่างยิ่งในฤดูฝน อากาศชื้น มืดครึ้ม และยังมีแหล่งน้ำในห้องน้ำของนักเรียนจำนวน 6 หลัง(30 ห้อง) ห้องน้ำครูตามอาคารเรียนต่างๆจำนวน 9 ห้อง และบริเวณบ้านพักครูจำนวน 12 หลัง ด้วยสถานที่ดังกล่าวจะเป็นแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายและยุงสายพันธ์อื่นอันดับต้นๆ ดังนั้นเราทุกคนจึงจำเป็นต้องช่วยกันป้องกันการเกิดและกำจัดยุงลาย ซึ่งเป็นการการป้องกันที่ดีที่สุด ในปัจจุบันพบว่าได้มีผู้คิดค้นสิ่งที่ช่วยในการกำจัดและป้องกันยุง  เช่น ครีมทากันยุง ยาฉีดกันยุง  ยาจุดกันยุง เป็นต้น     จากการศึกษาพบว่าผลิตภัณฑ์เหล่านี้อาจจะมีสารเคมีเป็นส่วนผสมอยู่ ซึ่งอาจทำให้ผู้บริโภคเกิดอาการแพ้หรือส่งผลข้างเคียงกับร่างกายในเวลาต่อมาได้  ดังนั้นสภานักเรียนจึงได้ศึกษาข้อมูลจากอินเตอร์เน็ตพบว่า การนำตะไคร้มาเป็นส่วนผสมในเทียนหอมเพื่อไล่ยุงและทำเป็นสเปรย์ไล่ยุงจะได้ผลดี เพราะตะไคร้มีสารที่ออกฤทธิ์ในการไล่ยุง กลิ่นตะไคร้มาจากน้ำมันหอมระเหยที่เรียกรวมๆว่า Essential oil ซึ่งประกอบด้วยสารหลายตัว ยุงจึงไม่ชอบกลิ่นตะไคร้  และในครั้งนี้สภานักเรียนยังได้ประสานกลุ่มเครือข่ายเด็กอวด(ทำ)ดี ทีม Dek “โฮมกั๋น ” โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 30 เชียงใหม่ เพื่อศึกษาข้อมูลและวิธีทำ จัดทำผลิตภัณฑ์กำจัดลูกน้ำยุงลาย โดยผลิตภัณฑ์ดังกล่าวมีส่วนผสมของปูนแดงและขิงจะทำให้ลูกน้ำยุงลายไม่สามารถฟักเป็นตัวได้ซึ่งโครงการนี้เป็นการป้องกันโรคไข้เลือดออกตั้งแต่ต้นทางถึงปลายทาง จากสภาพปัญหาดังกล่าวคณะกรรมการสภานักเรียนโรงเรียนปากพะยูนพิทยาคารได้พยายามหาวิธีการแก้ไข โดยศึกษาโครงงานเรื่องเทียนหอมและสเปรย์สมุนไพรไล่ยุง จากแหล่งข้อมูลในอินเตอร์เน็ตมาต่อยอดและปรับใช้ในโรงเรียนและชุมชน เพื่อเป็นการป้องกันและกำจัดยุงลายซึ่งเป็นพาหะนำไปสู่โรคภัยต่างๆได้ นอกจากนี้ยังเป็นการแปรรูปพืชสมุนไพรธรรมดาที่มีสรรพคุณมากมายให้กลายเป็นผลิตภัณฑ์สมุนไพรกำลังจัดยุงลาย เทียนหอมและสเปรย์ไล่ยุง เป็นการลดภาระรายจ่ายในครอบครัวอีกทางหนึ่ง คณะกรรมการสภานักเรียนโรงเรียนปากพะยูนพิทยาคารจึงสนใจคิดทำโครงการนี้ขึ้นมา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1. เพื่อศึกษาและนำสมุนไพรไปใช้แทนการใช้ผลิตภัณฑ์ตามท้องตลาดที่มีสารเคมี ข้อที่ 2 เพื่อให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการกำจัดลูกน้ำยุงลายในโรงเรียนและชุมชน ข้อที่ 3 เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนป้องกันและตระหนักถึงอันตรายของยุงลายและโรคไข้เลือดออกด้วยการนำสมุนไพรมาใช้ ข้อที่ 4. เพื่อลดอัตราการเกิดไข้เลือดออกของประชาชนในพื้นที่ตำบลดอนประดู่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1 ประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงรายละเอียดและบริหารจัดการงบประมาณตามแผนโครงการ
  2. 1.1 มอบหมายหน้าที่ผู้รับผิดชอบการดำเนินกิจกรรมต่างๆ
  3. 2. ประสานวิทยากรอบรมวิธีการจัดทำผลิตภัณฑ์สมุนไพรป้องกันการเกิดลูกน้ำยุงลาย
  4. 2.1 กำหนดวัน เวลาและสถานที่ในการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการแก่นักเรียนแกนนำ
  5. 2.2 กำหนดกลุ่มเป้าหมาย
  6. 2.3 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการแก่นักเรียนแกนนำ ผลิตภัณฑ์กำจัดลูกน้ำยุงลาย
  7. 2.4 ทดสอบประสิทธิภาพผลิตภัณฑ์สมุนไพรป้องกันการเกิดลูกน้ำยุงลาย
  8. 3. กำหนดวัน เวลาและสถานที่ในการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการแก่นักเรียนกลุ่มสนใจ
  9. 3.2 อบรมเชิงปฏิบัติการผลิตภัณฑ์สมุนไพรป้องกันการเกิดลูกน้ำยุงลาย สเปรย์ไล่ยุงและเทียนหอมไล่ยุง โดยนักเรียนแกนนำจากสภานักเรียน
  10. 4. จัดทำแผ่นพับ และป้ายประชาสัมพันธ์ 4.1 จัดทำแผ่นพับความรู้เกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรคไข้เลือดออก 4.2 จัดทำแผ่นพับวิธีทำผลิตภัณฑ์สมุนไพรป้องกันการเกิดลูกน้ำยุงลาย สเปรย์ไล่ยุงและเทียนหอมไล่ยุง 4.3 จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์เพื่อใช้ในการเดินรณรงค์กระตุ้นการต
  11. 5. ติดตามประเมินผลและสรุปโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. กลุ่มเป้าหมายนำสมุนไพรไปใช้แทนการใช้ผลิตภัณฑ์ตามท้องตลาดที่มีสารเคมีร้อยละ 80 2. นักเรียนมีส่วนร่วมในการกำจัดลูกน้ำยุงลาย ป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกในโรงเรียนและชุมชน 3. ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและตระหนักถึงอันตรายของยุงลาย ซึ่งเป็นพาหะนำโรคไข้เลือดออก ด้วยการนำสมุนไพรมาใช้ในชีวิตประจำวันเพื่อป้องกันโรค 4. ลดอัตราการขยายพันธ์ยุงลายซึ่งก่อให้เกิดโรคไข้เลือดออกของประชาชนในพื้นที่ตำบลดอนประดู่


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1. เพื่อศึกษาและนำสมุนไพรไปใช้แทนการใช้ผลิตภัณฑ์ตามท้องตลาดที่มีสารเคมี ข้อที่ 2 เพื่อให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการกำจัดลูกน้ำยุงลายในโรงเรียนและชุมชน ข้อที่ 3 เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนป้องกันและตระหนักถึงอันตรายของยุงลายและโรคไข้เลือดออกด้วยการนำสมุนไพรมาใช้ ข้อที่ 4. เพื่อลดอัตราการเกิดไข้เลือดออกของประชาชนในพื้นที่ตำบลดอนประดู่
ตัวชี้วัด : ข้อที่ 1กลุ่มเป้าหมายนำสมุนไพรไปใช้แทนการใช้ผลิตภัณฑ์ตามท้องตลาดที่มีสารเคมี ในห้องน้ำโรงเรียนปากพะยูนพิทยาคาร บ้านพักครูและในชุมชนอีก 150 ครัวเรือน ข้อที่ 2 สามารถทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายได้ร้อยละ 80 ของพื้นที่เป้าหมาย ข้อที่ 3 ประชาชนรู้จักป้องกันและตระหนักถึงอันตรายของยุงลายและโรคไข้เลือดออกร้อยละ 80 ข้อที่ 4 ประชาชนในพื้นที่ลดอัตราการเกิดไข้เลือดออกร้อยละ 80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1. เพื่อศึกษาและนำสมุนไพรไปใช้แทนการใช้ผลิตภัณฑ์ตามท้องตลาดที่มีสารเคมี ข้อที่ 2 เพื่อให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการกำจัดลูกน้ำยุงลายในโรงเรียนและชุมชน ข้อที่ 3 เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนป้องกันและตระหนักถึงอันตรายของยุงลายและโรคไข้เลือดออกด้วยการนำสมุนไพรมาใช้ ข้อที่ 4. เพื่อลดอัตราการเกิดไข้เลือดออกของประชาชนในพื้นที่ตำบลดอนประดู่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1 ประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงรายละเอียดและบริหารจัดการงบประมาณตามแผนโครงการ (2) 1.1 มอบหมายหน้าที่ผู้รับผิดชอบการดำเนินกิจกรรมต่างๆ (3) 2. ประสานวิทยากรอบรมวิธีการจัดทำผลิตภัณฑ์สมุนไพรป้องกันการเกิดลูกน้ำยุงลาย (4) 2.1  กำหนดวัน    เวลาและสถานที่ในการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการแก่นักเรียนแกนนำ (5) 2.2 กำหนดกลุ่มเป้าหมาย (6) 2.3 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการแก่นักเรียนแกนนำ ผลิตภัณฑ์กำจัดลูกน้ำยุงลาย (7) 2.4 ทดสอบประสิทธิภาพผลิตภัณฑ์สมุนไพรป้องกันการเกิดลูกน้ำยุงลาย (8) 3. กำหนดวัน    เวลาและสถานที่ในการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการแก่นักเรียนกลุ่มสนใจ (9) 3.2 อบรมเชิงปฏิบัติการผลิตภัณฑ์สมุนไพรป้องกันการเกิดลูกน้ำยุงลาย สเปรย์ไล่ยุงและเทียนหอมไล่ยุง โดยนักเรียนแกนนำจากสภานักเรียน (10) 4. จัดทำแผ่นพับ และป้ายประชาสัมพันธ์ 4.1 จัดทำแผ่นพับความรู้เกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรคไข้เลือดออก 4.2 จัดทำแผ่นพับวิธีทำผลิตภัณฑ์สมุนไพรป้องกันการเกิดลูกน้ำยุงลาย สเปรย์ไล่ยุงและเทียนหอมไล่ยุง 4.3 จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์เพื่อใช้ในการเดินรณรงค์กระตุ้นการต (11) 5. ติดตามประเมินผลและสรุปโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพิชิตยุงร้ายทำลายแหล่งเพาะพันธ์ป้องกันไข้เลือดออก จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 66 - ……………………… ปี-รหัสกองทุน 5

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอนุกูล ชุมทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด