กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเด็กปฐมวัยสุขภาพดี สูงดีสมส่วน พัฒนาการสมวัยชมรม อสม.ตำบลพนมวังก์ปี 2566
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลพนมวังก์
วันที่อนุมัติ 1 กรกฎาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กรกฎาคม 2566 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 38,100.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลพนมวังก์ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 233 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 เด็ก 0-5ปี มีพัฒนาสงสัยล่าช้า
5.00
2 เด็ก 0-5 ปี มีภาวะพร่องโภชนาการ
16.00
3 เด็กแรกเกิด-ุ 6 เดือน ดื่มนมแม่อย่างเดียว
52.00
4 ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปีมีความรู้ และทักษะในการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ ชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูง
60.00
5 อสม มีความรู้และทักษะในการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ ชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูง
62.00
6 ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปีมีความรู้ และทักษะในการเฝ้าระวังส่งเสริมพัฒนาเด็ก
65.00
7 ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปีมีความรู้ และทักษะในการเฝ้าระวังส่งเสริมพัฒนาเด็ก
64.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 แกนนำ อสม.ได้รับการอบรมการเจริญเติบโตทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและทำกิจกรรมเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย

แกนนำ อสม.ได้รับการอบรมการเจริญเติบโตทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและทำกิจกรรมเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยร้อยละ ๑๐๐

18.75 90.00
2 ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยได้รับการได้รับการอบรมการเจริญเติบโตทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและทำกิจกรรมเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย

ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยได้รับการได้รับการอบรมการเจริญเติบโตทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและทำกิจกรรมเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย ร้อยละ 90

10.00 90.00
3 เด็กปฐมวัย 0-5 ปี ได้รับการประเมินภาวะโภชนาการ ๓ เดือน/ครั้ง

เด็กปฐมวัย 0-5 ปี ได้รับการประเมินภาวะโภชนาการ ๓ เดือน/ครั้ง

70.00 98.00
4 เด็กปฐมวัย 0-5ปี มีภาวะพร่องโภชนาการได้รับการติดตามประเมินภาวะโภชนาการเดือนละ ๑ครั้ง

เด็กปฐมวัย 0-5ปี มีภาวะพร่องโภชนาการได้รับการติดตามประเมินภาวะโภชนาการเดือนละ ๑ครั้ง ร้อยละ๑๐๐

5.00 100.00
5 เด็กปฐมวัย 0-5 ปี ได้รับการประเมินพัฒนาการเดือนละ๑ครั้ง

เด็กปฐมวัย 0-5 ปี ได้รับการประเมินพัฒนาการ  เดือนละ  ๑  ครั้ง  ร้อยละ  ุ100

80.00 98.00
6 เด็กปฐมวัย 0-5 ปี สงสัยพัฒนาการล่าช้าได้รับการติดตามประเมินพัฒนาการ เดือนละ ๑ ครั้ง

เด็กปฐมวัย 0-5 ปี สงสัยพัฒนาการล่าช้าได้รับการติดตามประเมินพัฒนาการ  เดือนละ  ๑  ครั้ง  ร้อยละ  ๑๐๐

60.00 100.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 38,100.00 3 38,100.00
1 ก.ค. 66 - 30 ก.ย. 66 จัดอบรม อสม.ผู้ปกครอง ให้ความรู้และทักษะการส่งเสริมการเจริญเติบโตทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย 0 2,600.00 2,600.00
1 ก.ค. 66 - 31 ส.ค. 66 ประเมินภาวะโภชนาการเด็กปฐมวัย3 เดือน/ครั้ง และติดตามประเมินพัฒนาการ เด็กอายุ 9,18,30,42 และ 60 เดือนเดือนละ ๑ ครั้ง 0 4,300.00 4,300.00
1 ก.ค. 66 - 30 ก.ย. 66 ติดตามประเมินภาวะโภชนาการเด็กปฐมวัยที่มีภาวะพร่องภาวะโภชนาการ และเด็กปฐมวัยสงสัยพัฒนาการล่าช้า ภายใน 1 เดือน ทุกราย 0 31,200.00 31,200.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. เด็กปฐมวัยได้รับการเลี้ยงดูที่ถูกต้องเหมาะสม ส่งผลให้เด็กเจริญเติบโต พัฒนาการสมวัยรัอยละ98
  2. อสม. และผู้ปกครอง มีความรู้ ทักษะประเมินภาวะโภชนาการเด็กปฐมวัย และมีการใช้คู้มือส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) เพิ่มขึ้น ร้อยละ 90
  3. เด็กปฐมวัยได้รับการติดตามประเมินภาวะโภชนาการจำนวน30 คนและติดตามส่งเสริมพัฒนาการเด็กที่สงสัยล่าช้า อย่างต่อเนื่องตามวัย ภายใน 1 เดือน ร้อยละ90
  4. เด็กปฐมวัยอายุ 9,18,30,42 และ 60 เดือน มีพัฒนาการล่าช้าได้รับการส่งต่อแพทย์ร้อยละ100
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 25 เม.ย. 2566 00:00 น.