กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พนมวังก์

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเด็กปฐมวัยสุขภาพดี สูงดีสมส่วน พัฒนาการสมวัยชมรม อสม.ตำบลพนมวังก์ปี 2566

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พนมวังก์

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลพนมวังก์

1. นางศริณยา อินแก้ว
2. นางเพ็ญศรี ไชยเพชร
3. นางสุดาวดี ดำช่วย
4. นางธัญญา หนูรอด
5. นางอุบล ชูช่วย

ตำบลพนมวังก์

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 เด็ก 0-5ปี มีพัฒนาสงสัยล่าช้า

 

5.00
2 เด็ก 0-5 ปี มีภาวะพร่องโภชนาการ

 

16.00
3 เด็กแรกเกิด-ุ 6 เดือน ดื่มนมแม่อย่างเดียว

 

52.00
4 ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปีมีความรู้ และทักษะในการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ ชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูง

 

60.00
5 อสม มีความรู้และทักษะในการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ ชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูง

 

62.00
6 ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปีมีความรู้ และทักษะในการเฝ้าระวังส่งเสริมพัฒนาเด็ก

 

65.00
7 ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปีมีความรู้ และทักษะในการเฝ้าระวังส่งเสริมพัฒนาเด็ก

 

64.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 แกนนำ อสม.ได้รับการอบรมการเจริญเติบโตทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและทำกิจกรรมเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย

แกนนำ อสม.ได้รับการอบรมการเจริญเติบโตทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและทำกิจกรรมเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยร้อยละ ๑๐๐

18.75 90.00
2 ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยได้รับการได้รับการอบรมการเจริญเติบโตทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและทำกิจกรรมเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย

ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยได้รับการได้รับการอบรมการเจริญเติบโตทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและทำกิจกรรมเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย ร้อยละ 90

10.00 90.00
3 เด็กปฐมวัย 0-5 ปี ได้รับการประเมินภาวะโภชนาการ ๓ เดือน/ครั้ง

เด็กปฐมวัย 0-5 ปี ได้รับการประเมินภาวะโภชนาการ ๓ เดือน/ครั้ง

70.00 98.00
4 เด็กปฐมวัย 0-5ปี มีภาวะพร่องโภชนาการได้รับการติดตามประเมินภาวะโภชนาการเดือนละ ๑ครั้ง

เด็กปฐมวัย 0-5ปี มีภาวะพร่องโภชนาการได้รับการติดตามประเมินภาวะโภชนาการเดือนละ ๑ครั้ง ร้อยละ๑๐๐

5.00 100.00
5 เด็กปฐมวัย 0-5 ปี ได้รับการประเมินพัฒนาการเดือนละ๑ครั้ง

เด็กปฐมวัย 0-5 ปี ได้รับการประเมินพัฒนาการ  เดือนละ  ๑  ครั้ง  ร้อยละ  ุ100

80.00 98.00
6 เด็กปฐมวัย 0-5 ปี สงสัยพัฒนาการล่าช้าได้รับการติดตามประเมินพัฒนาการ เดือนละ ๑ ครั้ง

เด็กปฐมวัย 0-5 ปี สงสัยพัฒนาการล่าช้าได้รับการติดตามประเมินพัฒนาการ  เดือนละ  ๑  ครั้ง  ร้อยละ  ๑๐๐

60.00 100.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 233
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/07/2023

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดอบรม อสม.ผู้ปกครอง ให้ความรู้และทักษะการส่งเสริมการเจริญเติบโตทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย

ชื่อกิจกรรม
จัดอบรม อสม.ผู้ปกครอง ให้ความรู้และทักษะการส่งเสริมการเจริญเติบโตทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดอบรมแกนนำ อสม.จำนวน50 คนผู้ปกครอง จำนวน30คน ให้ความรู้และทักษะการส่งเสริมการเจริญเติบโตทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยที่ ห้องประชุม รพ.สต.บ้านสี่แยกไสยวน โดยมีค่าใช้จ่าย - ค่าสมนาคุณวิทยากรจำนวน 3 ชั่วโมง ๆ ละ 200 บาท เป็นเงิน 600 บาท - ค่าอาหารว่าง 1 มื้อ ๆ ละ 25 บาท จำนวน 80 คน เป็นเงิน 2,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กรกฎาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2600.00

กิจกรรมที่ 2 ประเมินภาวะโภชนาการเด็กปฐมวัย3 เดือน/ครั้ง และติดตามประเมินพัฒนาการ เด็กอายุ 9,18,30,42 และ 60 เดือนเดือนละ ๑ ครั้ง

ชื่อกิจกรรม
ประเมินภาวะโภชนาการเด็กปฐมวัย3 เดือน/ครั้ง และติดตามประเมินพัฒนาการ เด็กอายุ 9,18,30,42 และ 60 เดือนเดือนละ ๑ ครั้ง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประเมินภาวะโภชนาการเด็กปฐมวัยจำนวน 233 คน3 เดือน/ครั้ง และติดตามประเมินพัฒนาการ เด็กอายุ 9,18,30,42 และ 60 เดือน จำนวน 70 คนเดือนละ 1ครั้ง โดยมีค่าใช้จ่ายดังนี้ - เอกสารแบบประเมินภาวะโภชนาการและพัฒนาการ จำนวน 600 หน้า ๆ ละ 0.5 บาท เป็นเงิน 300 บาท - ชุดประเมินพัฒนาการ(DSPM) 0 - 5 ปี จำนวน 1ชุดเป็นเงิน 4,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กรกฎาคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4300.00

กิจกรรมที่ 3 ติดตามประเมินภาวะโภชนาการเด็กปฐมวัยที่มีภาวะพร่องภาวะโภชนาการ และเด็กปฐมวัยสงสัยพัฒนาการล่าช้า ภายใน 1 เดือน ทุกราย

ชื่อกิจกรรม
ติดตามประเมินภาวะโภชนาการเด็กปฐมวัยที่มีภาวะพร่องภาวะโภชนาการ และเด็กปฐมวัยสงสัยพัฒนาการล่าช้า ภายใน 1 เดือน ทุกราย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ติดตามประเมินภาวะโภชนาการเด็กปฐมวัยที่มีภาวะพร่องภาวะโภชนาการจำนวน30 คนและเด็กปฐมวัยสงสัยพัฒนาการล่าช้า ภายใน 1 เดือนจำนวน15คนโดยมีค่าใช้จ่ายดังนี้ - ชุดส่งเสริมพัฒนาการ (DSPM) 0-5 ปี จำนวน 1 ชุด ๆ ละ 1,200 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท - อาหารเสริม นม ไข่ สำหรับเด็กที่มีภาวะโภชนาการผิดปกติ จำนวน 30 คน ๆ ละ 1,000 บาท เป็นเงิน 30,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กรกฎาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
31200.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 38,100.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. เด็กปฐมวัยได้รับการเลี้ยงดูที่ถูกต้องเหมาะสม ส่งผลให้เด็กเจริญเติบโต พัฒนาการสมวัยรัอยละ98
2. อสม. และผู้ปกครอง มีความรู้ ทักษะประเมินภาวะโภชนาการเด็กปฐมวัย และมีการใช้คู้มือส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) เพิ่มขึ้น ร้อยละ 90
3. เด็กปฐมวัยได้รับการติดตามประเมินภาวะโภชนาการจำนวน30 คนและติดตามส่งเสริมพัฒนาการเด็กที่สงสัยล่าช้า อย่างต่อเนื่องตามวัย ภายใน 1 เดือน ร้อยละ90
4. เด็กปฐมวัยอายุ 9,18,30,42 และ 60 เดือน มีพัฒนาการล่าช้าได้รับการส่งต่อแพทย์ร้อยละ100


>