กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองทรายขาว


“ โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพในประชาชนทั่วไป หมู่ที่ 7 บ้านทุ่งใหญ่ ประจำปี 2566 ”

ตำบลคลองทรายขาว

หัวหน้าโครงการ
นางจิราภร ณะวะกะ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพในประชาชนทั่วไป หมู่ที่ 7 บ้านทุ่งใหญ่ ประจำปี 2566

ที่อยู่ ตำบลคลองทรายขาว จังหวัด

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพในประชาชนทั่วไป หมู่ที่ 7 บ้านทุ่งใหญ่ ประจำปี 2566 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองทรายขาว

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองทรายขาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพในประชาชนทั่วไป หมู่ที่ 7 บ้านทุ่งใหญ่ ประจำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพในประชาชนทั่วไป หมู่ที่ 7 บ้านทุ่งใหญ่ ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองทรายขาว รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองทรายขาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากข้อมูลองค์การอนามัยโลก ประมาณว่าการไม่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอเป็นสาเหตุของโรคหัวใจและหลอดเลือด ร้อยละ 22-23 โรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ ร้อยละ 16-17 เบาหวาน ร้อยละ 15 หลอดเลือดสมอง ร้อยละ12-13 โดยพบว่าการขาดกิจกรรมทางกายส่งผลให้เกิดการเสียชีวิต 3.2 ล้านคนต่อปี ของทั้งโลก โดยคนไทยมีอัตราการเสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ถึงร้อยละ 71 ของการเสียชีวิตทั้งหมด โดยการมีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอ เป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเสียชีวิตสำหรับกิจกรรมทางกายนั้น หมายถึง การเคลื่อนไหวร่างกายที่มีการใช้พลังงานในร่างกาย โดยเฉพาะครอบคลุมกิจกรรมทางกายทั้ง 3 ลักษณะ คือ1) กิจกรรมจากการทำงาน (Activity at work) ได้แก่ การทำงานโดยปกติ ที่ต้องออกแรงกายอย่างหนักหรือปานกลาง2) กิจกรรมจากการเดินทางในชีวิตประจำวัน (travel to and from places) ได้แก่ การเดิน และการขี่จักรยาน3) กิจกรรมยามว่าง (recreational activities) ได้แก่ การออกกำลังกาย เล่นกีฬา มีกิจกรรมยามว่าง กิจกรรมทั้ง 3 ลักษณะนี้ แต่ละลักษณะมีความหนักเบาของการใช้แรงกาย (intensity) ระยะเวลาที่มีกิจกรรม เป็นนาทีต่อวัน และความถี่ของการมีกิจกรรมเป็นวันต่อสัปดาห์ โดยในผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ต้องมีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์) ตามข้อแนะนำขององค์การอนามัยโลก (WHO) หมู่ที่ 7บ้านทุ่งใหญ่ ตำบลคลองทรายขาว มีประชาชนทั่วไปที่ อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายที่ไม่เพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์) จำนวน232 คนซึ่งบุคคลเหล่านี้มีกิจกรรมทางกายที่ไม่เพียงพอ เนื่องจากการประกอบอาชีพที่ต่างกันทำให้ไม่มีเวลาในการออกกำลังกายและมีพฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ ในการดำเนินชีวิต ไม่ว่าจะเป็นการรับประทานอาหารรสจัด เช่น หวานจัด เค็มจัด อาหารที่มีไขมันสูง อาหารปิ้งย่าง การสูบบุหรี่ การนอนดึก ส่งผลต่อพฤติกรรมสุขภาพที่เสี่ยงต่อโรคเรื้อรัง และมีแนวโน้มจะทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้นกลุ่มปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ หมู่ที่ ม.8 บ้านหน้าวังได้เห็นความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพในประชาชนทั่วไปหมู่ที่ 7 บ้านทุ่งใหญ่ ประจำปี 2565ขึ้นมา เพื่อให้ประชาชนทั่วไป อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)และมีพัฒนาการทางด้านอารมณ์ สังคม และจิตใจ และอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชน อายุ 18-64 ปี มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)
  2. เพื่อให้ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพที่แข็งแรง
  3. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมเต้นแอโรบิกเพื่อสุขภาพ สัปดาห์ละ 3 วัน ๆ 50 นาที (เป้าหมาย ประชาชนทั่วไป 30 คน) จำนวน 4 เดือน ค่าอาหารว่าง 30 คน จำนวน 48 มื้อ ๆ ละ 10 บาท เป็นเงิน 4,800 บาท
  2. การเล่นฟุตฃอลเพื่อสุขภาพ สัปดาห์ละ 3 วัน ละ 50 นาที (เป้าหมาย ประชาชนทั่วไป 30 คน) จำนวน 3 เดือน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชน อายุ 18-64 ปี มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)
  2. ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพที่แข็งแรง
  3. ผู้เข้าร่วมโครงการตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชน อายุ 18-64 ปี มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ประชาชน อายุ 18-64 ปี มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)
57.54 58.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพที่แข็งแรง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพที่แข็งแรง
100.00 100.00

 

3 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ ร้อยละ 90
73.86 75.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชน อายุ 18-64 ปี มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์) (2) เพื่อให้ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพที่แข็งแรง (3) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมเต้นแอโรบิกเพื่อสุขภาพ  สัปดาห์ละ  3 วัน  ๆ 50  นาที (เป้าหมาย ประชาชนทั่วไป  30 คน) จำนวน  4  เดือน  ค่าอาหารว่าง  30  คน  จำนวน  48  มื้อ ๆ ละ 10  บาท  เป็นเงิน 4,800  บาท (2) การเล่นฟุตฃอลเพื่อสุขภาพ  สัปดาห์ละ 3  วัน  ละ 50 นาที  (เป้าหมาย ประชาชนทั่วไป  30 คน)  จำนวน  3  เดือน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพในประชาชนทั่วไป หมู่ที่ 7 บ้านทุ่งใหญ่ ประจำปี 2566 จังหวัด

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางจิราภร ณะวะกะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด