กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดโรค (บ้านปูลากาซิง)
รหัสโครงการ 66-L3026-03-02
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 3 สนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านปูลากาซิง
วันที่อนุมัติ 2 พฤษภาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2566 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ตุลาคม 2566
งบประมาณ 9,405.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวพาบีล๊ะ กาหลง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลกอลำ อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 พ.ค. 2566 30 ก.ย. 2566 9,405.00
รวมงบประมาณ 9,405.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 37 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

เด็กปฐมวัยเป็นช่วงที่สำคัญที่สุดในชีวิต เด็กจึงควรได้รับการเลี้ยงดูเอาใจใส่อย่างใกล้ชิดและเหมาะสม เพื่อให้เด็กมีสุขภาพอนามัยที่สมบูรณ์และมีพัฒนาการตามวัย อย่างไรก็ตามเด็กก่อนวัยเรียนต้องมีความจำเป็นที่ต้องฝากไว้ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กซึ่งเป็นสถานที่ที่เด็กอยู่ร่วมกันเป็นจำนวนมากเมื่อเจ็บป่วยจะสามารถแพร่เชื้อโรคติดต่อ สู่กันได้ง่าย ในเด็กเล็กมีภูมิต้านทานต่ำจะป่วยได้บ่อย ปัจจุบันมีโรคระบาดที่เป็นอันตรายต่อชีวิตและติดเชื้อได้ง่ายในเด็ก เช่น โรคไวรัสโคโรน่าหรือโควิด 19 ,โรคไวรัส RSV , มือเท้าปาก ไข้เลือดออก เป็นต้น โรคเห่ลานี้ถ้าเกิดระบาดในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กก็ต้องมีความจำเป็นที่ต้องปิดศูนย์ฯ ผู้ปกครองต้องเสียค่ารักษาพยาบาล ผู้ปกครองต้องหยุดงานขาดรายได้ จากเหตุผลดังกล่าวศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านปูลากาซิง จึงได้จัดทำโครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดโรค ประจำปีงบประมาณ 2566 เพื่อให้ความสำคัญกับการดำเนินงานด้านการเฝ้าระวังการป้องกันและควบคุมโรคในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กให้มีประสิทธิภาพ เพื่อเตรียมความพร้อมรับมือกับการระบาดของโรคติดต่อซึ่งอาจเกิดขึ้นในอนาคต ในภายภาคหน้า

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรค ติดต่อ เช่น โรคไวรัสโคโรน่าหรือโควิด 19,โรคไวรัส RSV , มือเท้าปาก ,ไข้เลือดออกและร่วมกันควบคุมการเกิดโรคในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ผู้ปกครองได้รู้จักกับโรคติดต่อ โรคไวรัสโคโรน่าหรือโควิด 19,โรคไวรัส RSV , มือเท้าปาก ไข้เลือดออก  และได้ร่วมกันควบคุมการเกิดโรคของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

0.00
2 เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกันไม่ให้เกิดโรคติดต่ออันจะมีผลต่อเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังโรคติดต่ออย่างต่ออย่างมีประสิทธิภาพ

0.00
3 เพื่อลดอัตราการเกิดโรคติดต่อในเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

อัตราการเกิดโรคติดต่อในเด็กลดลง

0.00
4 เพื่อให้ครูผู้ดูแลเด็กและผู้ปกครองตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคติดต่อของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ครูผู้ดูแลเด็กและผู้ปกครองมีความตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคติดต่อของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดโรค สุขภาพดี

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 9,405.00 0 0.00
1 พ.ค. 66 - 30 ก.ย. 66 อบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันโรคติดต่อในเด็กเล็ก 0 9,405.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันโรคติดต่อในเด็กเช่น
โรคไวรัสโคโรน่าหรือ โควิด 19,โรคไวรัส RSV , มือเท้าปากไข้เลือดออก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2.มีกิจกรรมการเฝ้าระวังการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 3.การเกิดโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กลดลง 4.ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กมีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 26 เม.ย. 2566 00:00 น.