โครงการยิ้ม สดใส เด็กเขาไพร ฟันดี ปี 2566
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการยิ้ม สดใส เด็กเขาไพร ฟันดี ปี 2566 ”
ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางเพียงดาว รอดความทุกข์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาไพร
สิงหาคม 2566
ชื่อโครงการ โครงการยิ้ม สดใส เด็กเขาไพร ฟันดี ปี 2566
ที่อยู่ ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 11/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการยิ้ม สดใส เด็กเขาไพร ฟันดี ปี 2566 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาไพร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการยิ้ม สดใส เด็กเขาไพร ฟันดี ปี 2566
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการยิ้ม สดใส เด็กเขาไพร ฟันดี ปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2566 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,690.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาไพร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาสุขภาพช่องปากของคนไทยเป็นอีกหนึ่งสาเหตุหลักสำคัญที่สร้างความสูญเสียทั้งทางด้านเวลา เศรษฐกิจ และสุขภาพของประชาชน การเกิดปัญหาทางด้านสุขภาพช่องปาก อาจเกิดได้จากปัจจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการเกิดโรคในช่องปากมาก เพราะปัญหาทันตสุขภาพต่างๆ เกิดจากพฤติกรรมไม่เหมาะสมของตัวบุคคลเอง แม้ว่าทันตบุคลากรจะทุ่มเทความพยายามในการรักษาเพียงใดก็ตาม ก็ไม่สามารถทำให้ประชาชนมีสุขภาพช่องปากที่ดีแบบยั่งยืนได้ ถ้าไม่สามารถกระตุ้นให้ประชาชนดูแลอนามัยส่วนบุคคลของตนเองได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเด็กไทย ที่พบปัญหาสุขภาพช่องปากจากหลายสาเหตุ เช่น พฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปาก พฤติกรรมการบริโภคอาหาร การรับประทานอาหารว่างระหว่างมื้อนอกเหนือจากมื้อหลัก การรับประทานขนมหวานรวมไปถึงน้ำอัดลม ทำให้เด็กมีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดฟันผุ ปวดฟัน รวมไปถึงการสูญเสียฟันที่ใช้ในการบดเคี้ยวอาหาร ซึ่งสิ่งเหล่านี้ย่อมส่งผลต่อคุณภาพชีวิตทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม เช่น การกินอาหาร การศึกษาเล่าเรียน การพูดคุย และการพบปะผู้อื่นได้ เด็กวัยเรียนเป็นวัยที่เริ่มมีการเปลี่ยนแปลงของชุดฟันในช่องปาก โดยเริ่มมีฟันกรามแท้ในช่องปากตั้งแต่อายุ 6 ขวบ จะเสี่ยงต่อการเกิดฟันผุได้ง่าย เพราะการสะสมแร่ธาตุบนผิวฟันยังไม่สมบูรณ์ และยังไม่สามารถแปรงได้อย่างมีประสิทธิภาพเท่าที่ควร ในขณะที่ผู้ปกครองยังขาดความเข้าใจการขึ้นหลุดของฟัน จึงอาจเข้าใจว่าเป็นฟันน้ำนมอยู่ โรคฟันผุ และเหงือกอักเสบจึงเป็นปัญหาของเด็กกลุ่มวัยนี้
จากผลการสำรวจสุขภาพช่องปากแห่งชาติ ครั้งที่ 8 ประเทศไทย พ.ศ. 2560 พบว่า เด็กวัยเรียน อายุ 12 ปี มีความชุกของโรคฟันผุ ร้อยละ 52 มีค่าเฉลี่ย ผุ อุด ถอด 1.4 ซี่/คน มีสภาวะเหงือกอักเสบ ร้อยละ 66.3 ด้านพฤติกรรมทันตสุขภาพ การแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน ร้อยละ 44.7 พฤติกรรมการบริโภคที่เสี่ยงฟันผุ ดื่มน้ำอัดลมทุกวัน ร้อยละ 13.4 กินขนมกรุบกรอบทุกวัน ร้อยละ 32.6 การรับรู้และการได้รับบริการ ทันตสุขภาพ เคยปวดฟัน ร้อยละ 36.7 เคยหยุดเรียนเพราะทำฟัน ร้อยละ 12.2 เคยได้รับการตรวจฟัน ร้อยละ 84.7 และเคยได้รับการรักษาฟัน และเหงือก ร้อยละ 50.8 (กองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย, 2561) จึงควรมุ่งเน้น การส่งเสริมการแปรงฟันหลังอาหารกลางวันอย่างมีประสิทธิภาพ ส่งเสริมการจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อการเกิดพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปาก และพฤติกรรมการบริโภคที่ดีทั้งในโรงเรียนและชุมชน
จากการสำรวจทันตสุขภาพช่องปากของนักเรียนในโรงเรียนของพื้นที่รับบริการปี 2566 ในตำบล เขาไพรมีเด็กนักเรียนจำนวน 327 คน มีปัญหาโรคฟันถาวรผุ จำนวน 38 คน คิดเป็นร้อยละ 11.62 มีหินน้ำลายและเหงือกอักเสบ จำนวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 7.03
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาไพร จึงจัดทำโครงการยิ้มสดใส เด็กเขาไพรฟันดี ปี 2566อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง เพื่อเป็นการลดและแก้ไขปัญหาทันตสุขภาพของเด็กนักเรียน เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากและส่งเสริมการดำเนินงานกิจกรรมทางทันตสุขภาพในโรงเรียน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มจำนวนการเข้าถึงบริการทันตกรรมในกลุ่มเด็กปฐมวัยและเด็กวัยเรียน
- เพื่อลดอัตราการเกิดโรคฟันผุในกลุ่มเด็กปฐมวัยและเด็กวัยเรียน
- เพื่อให้กลุ่มเด็กปฐมวัยและเด็กวัยเรียน มีความรู้เรื่องโรคฟันผุเพิ่มขึ้น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
330
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กปฐมวัยและเด็กวัยเรียนได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากทุกคน
- เด็กปฐมวัยและเด็กวัยเรียนมีความรู้เกี่ยวกับทันตสุขภาพและสามารถตรวจสุขภาพช่องปากได้ด้วยตนเองเพิ่มขึ้น
- เด็กปฐมวัยและเด็กวัยเรียนทุกคนสามารถแปรงฟันได้อย่างถูกวิธีและลดอัตราการเกิดโรคฟันผุในเด็กปฐมวัยและเด็กวัยเรียน
- โรงเรียนประถมศึกษาทุกแห่งจัดกิจกรรมแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์หลังอาหารกลางวันทุกวัน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเพิ่มจำนวนการเข้าถึงบริการทันตกรรมในกลุ่มเด็กปฐมวัยและเด็กวัยเรียน
ตัวชี้วัด :
2
เพื่อลดอัตราการเกิดโรคฟันผุในกลุ่มเด็กปฐมวัยและเด็กวัยเรียน
ตัวชี้วัด :
3
เพื่อให้กลุ่มเด็กปฐมวัยและเด็กวัยเรียน มีความรู้เรื่องโรคฟันผุเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
370
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
330
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มจำนวนการเข้าถึงบริการทันตกรรมในกลุ่มเด็กปฐมวัยและเด็กวัยเรียน (2) เพื่อลดอัตราการเกิดโรคฟันผุในกลุ่มเด็กปฐมวัยและเด็กวัยเรียน (3) เพื่อให้กลุ่มเด็กปฐมวัยและเด็กวัยเรียน มีความรู้เรื่องโรคฟันผุเพิ่มขึ้น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการยิ้ม สดใส เด็กเขาไพร ฟันดี ปี 2566 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางเพียงดาว รอดความทุกข์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการยิ้ม สดใส เด็กเขาไพร ฟันดี ปี 2566 ”
ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางเพียงดาว รอดความทุกข์
สิงหาคม 2566
ที่อยู่ ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 11/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการยิ้ม สดใส เด็กเขาไพร ฟันดี ปี 2566 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาไพร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการยิ้ม สดใส เด็กเขาไพร ฟันดี ปี 2566
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการยิ้ม สดใส เด็กเขาไพร ฟันดี ปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2566 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,690.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาไพร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาสุขภาพช่องปากของคนไทยเป็นอีกหนึ่งสาเหตุหลักสำคัญที่สร้างความสูญเสียทั้งทางด้านเวลา เศรษฐกิจ และสุขภาพของประชาชน การเกิดปัญหาทางด้านสุขภาพช่องปาก อาจเกิดได้จากปัจจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการเกิดโรคในช่องปากมาก เพราะปัญหาทันตสุขภาพต่างๆ เกิดจากพฤติกรรมไม่เหมาะสมของตัวบุคคลเอง แม้ว่าทันตบุคลากรจะทุ่มเทความพยายามในการรักษาเพียงใดก็ตาม ก็ไม่สามารถทำให้ประชาชนมีสุขภาพช่องปากที่ดีแบบยั่งยืนได้ ถ้าไม่สามารถกระตุ้นให้ประชาชนดูแลอนามัยส่วนบุคคลของตนเองได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเด็กไทย ที่พบปัญหาสุขภาพช่องปากจากหลายสาเหตุ เช่น พฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปาก พฤติกรรมการบริโภคอาหาร การรับประทานอาหารว่างระหว่างมื้อนอกเหนือจากมื้อหลัก การรับประทานขนมหวานรวมไปถึงน้ำอัดลม ทำให้เด็กมีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดฟันผุ ปวดฟัน รวมไปถึงการสูญเสียฟันที่ใช้ในการบดเคี้ยวอาหาร ซึ่งสิ่งเหล่านี้ย่อมส่งผลต่อคุณภาพชีวิตทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม เช่น การกินอาหาร การศึกษาเล่าเรียน การพูดคุย และการพบปะผู้อื่นได้ เด็กวัยเรียนเป็นวัยที่เริ่มมีการเปลี่ยนแปลงของชุดฟันในช่องปาก โดยเริ่มมีฟันกรามแท้ในช่องปากตั้งแต่อายุ 6 ขวบ จะเสี่ยงต่อการเกิดฟันผุได้ง่าย เพราะการสะสมแร่ธาตุบนผิวฟันยังไม่สมบูรณ์ และยังไม่สามารถแปรงได้อย่างมีประสิทธิภาพเท่าที่ควร ในขณะที่ผู้ปกครองยังขาดความเข้าใจการขึ้นหลุดของฟัน จึงอาจเข้าใจว่าเป็นฟันน้ำนมอยู่ โรคฟันผุ และเหงือกอักเสบจึงเป็นปัญหาของเด็กกลุ่มวัยนี้ จากผลการสำรวจสุขภาพช่องปากแห่งชาติ ครั้งที่ 8 ประเทศไทย พ.ศ. 2560 พบว่า เด็กวัยเรียน อายุ 12 ปี มีความชุกของโรคฟันผุ ร้อยละ 52 มีค่าเฉลี่ย ผุ อุด ถอด 1.4 ซี่/คน มีสภาวะเหงือกอักเสบ ร้อยละ 66.3 ด้านพฤติกรรมทันตสุขภาพ การแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน ร้อยละ 44.7 พฤติกรรมการบริโภคที่เสี่ยงฟันผุ ดื่มน้ำอัดลมทุกวัน ร้อยละ 13.4 กินขนมกรุบกรอบทุกวัน ร้อยละ 32.6 การรับรู้และการได้รับบริการ ทันตสุขภาพ เคยปวดฟัน ร้อยละ 36.7 เคยหยุดเรียนเพราะทำฟัน ร้อยละ 12.2 เคยได้รับการตรวจฟัน ร้อยละ 84.7 และเคยได้รับการรักษาฟัน และเหงือก ร้อยละ 50.8 (กองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย, 2561) จึงควรมุ่งเน้น การส่งเสริมการแปรงฟันหลังอาหารกลางวันอย่างมีประสิทธิภาพ ส่งเสริมการจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อการเกิดพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปาก และพฤติกรรมการบริโภคที่ดีทั้งในโรงเรียนและชุมชน จากการสำรวจทันตสุขภาพช่องปากของนักเรียนในโรงเรียนของพื้นที่รับบริการปี 2566 ในตำบล เขาไพรมีเด็กนักเรียนจำนวน 327 คน มีปัญหาโรคฟันถาวรผุ จำนวน 38 คน คิดเป็นร้อยละ 11.62 มีหินน้ำลายและเหงือกอักเสบ จำนวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 7.03 ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาไพร จึงจัดทำโครงการยิ้มสดใส เด็กเขาไพรฟันดี ปี 2566อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง เพื่อเป็นการลดและแก้ไขปัญหาทันตสุขภาพของเด็กนักเรียน เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากและส่งเสริมการดำเนินงานกิจกรรมทางทันตสุขภาพในโรงเรียน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มจำนวนการเข้าถึงบริการทันตกรรมในกลุ่มเด็กปฐมวัยและเด็กวัยเรียน
- เพื่อลดอัตราการเกิดโรคฟันผุในกลุ่มเด็กปฐมวัยและเด็กวัยเรียน
- เพื่อให้กลุ่มเด็กปฐมวัยและเด็กวัยเรียน มีความรู้เรื่องโรคฟันผุเพิ่มขึ้น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 40 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 330 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กปฐมวัยและเด็กวัยเรียนได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากทุกคน
- เด็กปฐมวัยและเด็กวัยเรียนมีความรู้เกี่ยวกับทันตสุขภาพและสามารถตรวจสุขภาพช่องปากได้ด้วยตนเองเพิ่มขึ้น
- เด็กปฐมวัยและเด็กวัยเรียนทุกคนสามารถแปรงฟันได้อย่างถูกวิธีและลดอัตราการเกิดโรคฟันผุในเด็กปฐมวัยและเด็กวัยเรียน
- โรงเรียนประถมศึกษาทุกแห่งจัดกิจกรรมแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์หลังอาหารกลางวันทุกวัน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเพิ่มจำนวนการเข้าถึงบริการทันตกรรมในกลุ่มเด็กปฐมวัยและเด็กวัยเรียน ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | เพื่อลดอัตราการเกิดโรคฟันผุในกลุ่มเด็กปฐมวัยและเด็กวัยเรียน ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | เพื่อให้กลุ่มเด็กปฐมวัยและเด็กวัยเรียน มีความรู้เรื่องโรคฟันผุเพิ่มขึ้น ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 370 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 40 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 330 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มจำนวนการเข้าถึงบริการทันตกรรมในกลุ่มเด็กปฐมวัยและเด็กวัยเรียน (2) เพื่อลดอัตราการเกิดโรคฟันผุในกลุ่มเด็กปฐมวัยและเด็กวัยเรียน (3) เพื่อให้กลุ่มเด็กปฐมวัยและเด็กวัยเรียน มีความรู้เรื่องโรคฟันผุเพิ่มขึ้น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการยิ้ม สดใส เด็กเขาไพร ฟันดี ปี 2566 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางเพียงดาว รอดความทุกข์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......