กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ ชุมชนร่วมใจ พิชิตภัยไข้เลือดออกตำบลดอน ”
ตำบลดอน อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุปราณีวานิ




ชื่อโครงการ ชุมชนร่วมใจ พิชิตภัยไข้เลือดออกตำบลดอน

ที่อยู่ ตำบลดอน อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 010/2560 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 ตุลาคม 2559 ถึง 29 กันยายน 2560

กิตติกรรมประกาศ

"ชุมชนร่วมใจ พิชิตภัยไข้เลือดออกตำบลดอน จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดอน อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ชุมชนร่วมใจ พิชิตภัยไข้เลือดออกตำบลดอน



บทคัดย่อ

โครงการ " ชุมชนร่วมใจ พิชิตภัยไข้เลือดออกตำบลดอน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดอน อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 010/2560 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 ตุลาคม 2559 - 29 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออก เป็นโรคติดต่อที่ปัญหาสาธารณสุขมานาน โดยมียุงลายเป็นพาหนำโรค จากคนหนึ่งสู่อีกคนหนึ่ง สามารถติดต่อกันได้ง่าย หากสิ่งแวดล้อมเอื้อ คือการที่มีแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย และขาดการป้องกันไม่ให้ยุงกัด ที่สำคัญ มีแนวโน้มทวีความรุนแรงของการระบาดเพิ่มขึ้น และต่อเนื่อง ระดับประเทศ ตั้งแต่ปี พ.ศ.2544 มีการระบาดครั้งใหญ่มีจานวนผู้ป่วย 130,000 ราย เสียชีวิต 238 รายมีการระบาดต่อเนื่องถึงปี พ.ศ.2545 ซึ่งมีจานวนผู้ป่วย 108,905 ราย เสียชีวิต 172 ราย ส่วนใหญ่จะพบในกลุ่มเด็กอายุระหว่าง 5-14 ปี ซึ่งเป็นเด็กช่วงวัยอนุบาลและประถมศึกษา นอกจากนั้นในกลุ่มอายุอื่นๆทั้งวัยรุ่นและผู้ใหญ่ ดังนั้นการดาเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จะต้องมีการร่วมมือกันในทุกๆองค์กร คือ ทั้งบ้าน ชุมชน โรงเรียน ศาสนสถาน และหน่วยงานต่างๆ และจะต้องมุ่งแก้ไข้ที่ต้นเหตุของการแพร่กระจายโรค คือ ยุงลายซึ่งเป็นพาหะนาเชื้อไวรัสไข้เลือดออก กลวิธีที่สำคัญคือการกาจัดยุงลายและแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย คือการร่วมมือจากทุกฝ่าย ทั้งบ้าน โรงเรียน ชุมชน ศาสนสถาน หน่วยงาน ทั้งภาครัฐ องค์กรภาคเอกชน และประชาชน และเน้นการติดตามกากับประเมินผล เพื่อป้องกันทั้งให้เกิดขึ้นน้อยที่สุด ทั้งนี้ต้องเป็นปฏิบัติโดยสม่ำเสมอและต่อเนื่อง
สถานการณ์ของโรคไข้เลือดออกของตำบลดอน ในรอบ 1 ปีคือ ปี 2559 ซึ่งมีรายงานผู้ป่วย คิดเป็นอัตราป่วย 48.28 ต่อประชากรแสนคนคิดเป็นจำนวน 6 คนตามลำดับไม่พบผู้เสียชีวิตซึ่งส่วนใหญ่มีสาเหตุมาจากประชาชนขาดความรู้ไม่ตระหนักถึงความสำคัญของการป้องกันโรค รวมทั้งเรื่องของสภาพแวดล้อมของตำบลดอนเองที่เอื้อต่อการเกิดโรค เนื่องจาก บางพื้นที่มีบ้านเรือนตั้งอยู่อย่างหนาแน่นมีการเลี้ยงสัตว์ที่เอื้อต่อการเกิดโรคเช่นเลี้ยงนกเขาเป็ดไก่ ที่จำเป็นต้องใส่น้ำในภาชนะแต่ขาดการดูแลและในบางพื้นที่มีต้นไม้ป่าไม้มากทำให้ยากต่อการดูแลควบคุมความชุกชุมของลูกน้ำยุงลายรวมไปถึงการไป-มาทำงานนอกถิ่นก็เป็นสาเหตุหนึ่ง ที่ทำให้ได้รับเชื้อและป่วยเกิดมาทำให้เกิดการแพร่ระบาดในพื้นที่ของตำบลดอน ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดอน จึงได้จัดโครงการชุมชนร่วมใจพิชิตภัยไข้เลือดออกตำบลดอนขึ้น โดยเน้นที่การมีส่วนร่วมของชุมชน องค์กรชุมชน ให้เข้ามามีบทบาทร่วมกันดำเนินงานและคาดว่าจากการดำเนินการดังกล่าวสามารถลดปัญหาการเจ็บป่วยและผลกระทบที่เกิดขึ้นกับประชาชนได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชากรในชุมชน 2. เพื่อลดความชุกของลูกน้ำยุงลายในชุมชน ศาสนสถาน สถานที่ราชการและโรงเรียน 3 เพื่อสร้างความร่วมมือในชุมชนในการแก้ไขปัญหาและควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 60
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 500
    กลุ่มวัยทำงาน 100
    กลุ่มผู้สูงอายุ 140
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    คนในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจ และให้ความร่วมมือจนสามารถป้องกันและควบคุมการเกิดโรคไข้เลือดออกของประชากรในชุมชน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ในการดำเนินโครงการชุมชนร่วมใจ พิชิตภัยไข้เลือดออกโดยมีเป้าหมายชุมชนหมู่ที่๑-๖ ตำบลดอน -รพ.ตร ๑ แห่ง,-อบต. ๑ แห่ง,-สนง.บริหารราชการตำบล ๑ แห่ง,-โรงเรียน ๖ แห่ง,-ศูนย์เด็กเล็ก ๒ แห่ง,-วัด
    ๒ แห่ง,-มัสยิด ๓ แห่ง,-บาราเซาะ ๑ แห่ง และผู็ที่เข้าร่วมโครการชุมชนร่วมใจ พิชิตภัยไข้เลือดออกเป็นจำนวน ๘๐๐ คน -แสดงให้เห็นว่า แต่ละชุมชนกลุ่มเป้าฟหมายเล็งเห็นความสำคัญกับภัยไข้เลือดออกและจากที่ได้รับความรู้การป้องกันภัยไข้เลือดไข้เลือดออก การใช้สารเคมี เช่น ทรายอะเบทและฆ่าลูกน้ำ ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุยุง กำจัดภาชนะทีมีน้ำน้ำขังในบริเวณบ้านได้อย่างดีขึ้น

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชากรในชุมชน 2. เพื่อลดความชุกของลูกน้ำยุงลายในชุมชน ศาสนสถาน สถานที่ราชการและโรงเรียน 3 เพื่อสร้างความร่วมมือในชุมชนในการแก้ไขปัญหาและควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
    ตัวชี้วัด : 1.อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกให้ลดลงไม่เกณฑ์50 ต่อแสนประชากร 2.ค่า HI ในหมู่บ้านไม่ให้เกินร้อยละ 10 และค่า CI ในโรงเรียน วัดมัสยิด ศูนย์เด็กเล็ก และสถานที่ราชการ เท่ากับ และค่า BI ในชุมชนไม่เกิน 50 3. ร้อยละ 50 ขององค์กรชุมชน และส่วนราชการมีส่วนร่วมกับกิจกรรมตามโครงการ ฯ

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 800
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 60
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 500
    กลุ่มวัยทำงาน 100
    กลุ่มผู้สูงอายุ 140
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชากรในชุมชน 2. เพื่อลดความชุกของลูกน้ำยุงลายในชุมชน ศาสนสถาน สถานที่ราชการและโรงเรียน 3 เพื่อสร้างความร่วมมือในชุมชนในการแก้ไขปัญหาและควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ชุมชนร่วมใจ พิชิตภัยไข้เลือดออกตำบลดอน จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 010/2560

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวสุปราณีวานิ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด