กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการเฝ้าระวัง ความปลอดภัยในผู้สูงอายุและ กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง หมู่ที่5 ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ปี2566

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนประดู่


“ โครงการเฝ้าระวัง ความปลอดภัยในผู้สูงอายุและ กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง หมู่ที่5 ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ปี2566 ”

ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายพนม อินทร์ศรี

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวัง ความปลอดภัยในผู้สูงอายุและ กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง หมู่ที่5 ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ปี2566

ที่อยู่ ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 66 – L3336 -………-……… ปี-รหัสกอง เลขที่ข้อตกลง 18/66

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 12 พฤษภาคม 2566 ถึง 29 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวัง ความปลอดภัยในผู้สูงอายุและ กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง หมู่ที่5 ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ปี2566 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนประดู่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวัง ความปลอดภัยในผู้สูงอายุและ กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง หมู่ที่5 ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ปี2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวัง ความปลอดภัยในผู้สูงอายุและ กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง หมู่ที่5 ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ปี2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 66 – L3336 -………-……… ปี-รหัสกอง ระยะเวลาการดำเนินงาน 12 พฤษภาคม 2566 - 29 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนประดู่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

วัยสูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) เป็นวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงทางสรีระของร่างกาย ทำให้การทำหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ ภายในร่างกายลดลง จึงเสี่ยงต่อการเกิดโรคได้ง่ายโดยเฉพาะโรคเรื้อรังที่เป็นปัญหาทางสุขภาพที่สำคัญของผู้สูงอายุ โดย กลุ่มอาการที่เป็นปัญหาเฉพาะหรือพบบ่อยในผู้สูงอายุ เกิดได้จากหลายสาเหตุ ไม่ว่าจะเป็นการชราภาพของร่างกาย ผลข้างเคียงจากยาต่างๆ และหลากหลายโรคที่มารุมเร้า ส่งผลต่อสุขภาพและการดูแลตนเองที่ถดถอยลง ความผิดปกติในการรับประทานอาหาร เป็นอาการที่อาจเกิดจากหลายสาเหตุ เช่น ปัญหาสุขภาพฟัน ภาวะกลืนลำบาก ความอยากอาหารลดลง ปัญหาการนอนไม่หลับ เป็นปัญหาที่ทำให้คุณภาพการนอนลดน้อยลง อาจหลับยากขึ้น ตื่นบ่อย หลับไม่ลึก และตื่นมาไม่สดชื่น ซึ่งเกิดจากการเปลี่ยนแปลงตามวัย หรืออาจมีสาเหตุจากภาวะซึมเศร้า ความเครียด วิตกกังวล อาการปวดต่างๆ หรือกรดไหลย้อน ภาวะสมองเสื่อม หากมีการเปลี่ยนแปลงของอารมณ์ พฤติกรรม และความทรงจำอย่างต่อเนื่องและเป็นเวลานาน อาจเป็นสัญญาณบ่งบอกถึงอาการเริ่มต้นของภาวะสมองเสื่อม ภาวะกลั้นปัสสาวะหรืออุจจาระไม่อยู่ เกิดได้จากหลายปัจจัย เช่น ความบกพร่องในการควบคุมการกลั้นการขับถ่ายจากสมองหรือเส้นประสาท เป็นต้น ปัญหาในการทรงตัวและการหกล้ม มีปัญหาจากหลายปัจจัย เช่น ข้อเสื่อม กล้ามเนื้อลีบและอ่อนแรง โรคทางสมอง เช่น เส้นเลือดสมองตีบ เป็นต้น อาการมึนงงเวียนศีรษะ เกิดได้จากหลายสาเหตุ เช่น ความดันโลหิตต่ำ ความผิดปกติของหูชั้นในที่เกี่ยวข้องกับการทรงตัว (น้ำในหูไม่สมดุล) ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ โลหิตจาง เป็นต้น ปัญหาการมองเห็นและการได้ยิน อาจเป็นผลมาจากโรคเบาหวาน ต้อหิน ต้อกระจก จอประสาทตาเสื่อม ภาวะกระดูกพรุน เกิดจากการบางลงของเนื้อกระดูก ทำให้เปราะบาง หักหรือยุบง่ายซึ่งส่วนใหญ่พบได้ในผู้หญิงวัยหลังหมดประจำเดือนและผู้ชายอายุมากกว่า 70 ปี โดยทั่วไปมักไม่แสดงอาการใดๆ มีสาเหตุเกิดจากสภาวะวัยทองซึ่งหากผู้สูงอายุมีอาการดังกล่าวเกิดขึ้น หากไม่ได้รับการดูแลที่ถูกต้องจะมีผลทำให้มีอาการมากขึ้นและเป็นผลให้เกิดโรคที่ไม่พึงประสงค์ตามมาได้ ชุมชนบ้านกล้วยเภา หมู่ที่ 5 มีจำนวนผู้สูงอายุจำนวน 117 คน ดังนั้นทางกรรมการหมู่บ้านจึงได้เล็งเห็นความสำคัญของภาวะ การเจ็บป่วยดังกล่าวในผู้สูงอายุจึงได้จัดทำ “โครงการเฝ้าระวัง ป้องกันความปลอดภัยในผู้สูงอายุ” ขึ้น โดยนำร่องในสมาชิกที่มีผู้สูงอายุในครอบครัวที่พร้อมและสมัครใจเข้าร่วมโครงการ เพื่อให้สมาชิกที่มีผู้สูงอายุในความดูแลมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง สามารถนำไปใช้ในการเฝ้าระวังและป้องกันความปลอดภัยเบื้องต้นกับผู้สูงอายุในครอบครัวได้และสามารถให้การดูแลผู้สูงอายุให้ดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างมีความสุข มีชีวิตที่ยืนยาวตลอดจนสามารถนำองค์ความรู้ที่ได้รับไปขยายผลให้แก่บุคคลอื่นในชุมชนที่ไม่ได้เข้าร่วมโครงการได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 20
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1 ผู้สูงอายุและกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง ที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง       2 ผู้สูงอายุและกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง ที่เข้าร่วมโครงการสามารถเฝ้าระวัง และป้องกันความปลอดภัยในเบื้องต้นได้       3 ผู้สูงอายุและกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง ที่เข้าร่วมโครงการ สามารถนำองค์ความรู้ไปถ่ายทอดให้ประชาชนในชุมชนได้


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 20
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเฝ้าระวัง ความปลอดภัยในผู้สูงอายุและ กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง หมู่ที่5 ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ปี2566 จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 66 – L3336 -………-……… ปี-รหัสกอง

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายพนม อินทร์ศรี )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด