กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังอาหารสะอาดปลอดภัยปราศจากสารปนเปื้อน ในตลาดสดเทศบาลเมืองปัตตานี (ประเภทที่ 1) ”
ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางทรงสิริ มะนีวัน




ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังอาหารสะอาดปลอดภัยปราศจากสารปนเปื้อน ในตลาดสดเทศบาลเมืองปัตตานี (ประเภทที่ 1)

ที่อยู่ ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L7884-1-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังอาหารสะอาดปลอดภัยปราศจากสารปนเปื้อน ในตลาดสดเทศบาลเมืองปัตตานี (ประเภทที่ 1) จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังอาหารสะอาดปลอดภัยปราศจากสารปนเปื้อน ในตลาดสดเทศบาลเมืองปัตตานี (ประเภทที่ 1)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังอาหารสะอาดปลอดภัยปราศจากสารปนเปื้อน ในตลาดสดเทศบาลเมืองปัตตานี (ประเภทที่ 1) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 66-L7884-1-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 57,743.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เทศบาลเมืองปัตตานี มีตลาดสดที่ต้องรับผิดชอบ 2 แห่ง คือ 1.ตลาดสดเทศวิวัฒน์ 1 ถนนฤาดี ตำบลอาเนาะรู อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี 2.ตลาดสดเทศบาลเมืองปัตตานี ถนนยะรัง ตำบลจะบังติกอ ตลาดเทศวิวัฒน์ 1 มีผู้ประกอบการประมาณ 854 ราย ส่วนตลาดสดเทศบาลเมืองปัตตานี ถนนยะรัง มีผู้ประกอบการประมาณ 935 ราย ซึ่งมีการจำหน่ายประเภท ผักสด ผลไม้ เนื้อวัว เนื้อหมู อาหารสำเร็จ อาหารปรุงสุก อาหารทะเล ไก่สด เครื่องแกง เป็นต้น     จากการตรวจวิเคราะห์ตัวอย่างอาหารด้านเคมี โดยหน่วยตรวจสอบเคลื่อนที่ (Mobile Unit) ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ จังหวัดสงขลา ปีงบประมาณ 2566 จากการเก็บตัวอย่างอาหาร จำนวน 60 ตัวอย่าง พบว่า ตัวอย่างประเภทเนื้อวัวพบสารเร่งเนื้อแดง จำนวน 7 ตัวอย่าง จากทั้งหมด 12 ตัวอย่าง และพบสารฆ่าแมลงในผักผลไม้ (ส้มโชกุน,พริกสด) จำนวน 2 ตัวอย่าง ซึ่งสารเหล่านี้เป็นอันตรายต่อสุขภาพหากมีการใช้ในปริมาณสูง และยังก่อปัญหาพิษสะสมต่อร่างกายในระยะยาว การบริโภคอาหารเพื่อให้ได้อาหารที่สะอาดปลอดภัยมีคุณค่าตามหลักโภชนาการและปราศจากสารปนเปื้อนนั้น จำเป็นต้องมีระบบการดูแลควบคุมตรวจสอบคุณภาพ ความปลอดภัยของอาหารทุกกระบวนการ เพื่อให้ประชาชนทั่วไปสามารถรับทราบข้อมูลข่าวสาร และเข้าถึงการบริโภคอาหารที่สะอาดและปลอดภัย     ดังนั้น กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองปัตตานี ได้เล็งเห็นความสำคัญ จึงจัดทำโครงการเฝ้าระวังอาหารสะอาดปลอดภัยปราศจากสารปนเปื้อน ในตลาดสดเทศบาลเมืองปัตตานี เพื่อเป็นการเฝ้าระวังด้านอาหาร และสร้างองค์ความรู้แก่ผู้ประกอบการและผู้บริโภค ให้ตระหนักถึงความสำคัญของการเลือกซื้ออาหารปลอดภัย ส่งผลให้ประชาชนมีสุขภาพที่แข็งแรง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อเฝ้าระวัง และตรวจสอบความปลอดภัยด้านอาหาร 2.เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับผู้จำหน่ายสินสินค้าเรื่องความปลอดภัยด้านอาหารและแหล่งรับซื้อผลิตอาหารที่สะอาดมีคุณภาพจากแหล่งที่น่าเชื้อถือได้ 3.เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ผู้บริโภคมีความรู้ ความเข้าในใจการเลืกซื้ออาหารได้อย่างถูกต้อง และบริโภคอาหารที่ปลอดภัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.แผงจำหน่ายอาหารได้รับการพัฒนาแผงยกระดับมาตรฐาน ทำให้ประชาชนได้รับความปลอดภัยในการบริโภคอาหารมากยิ่งขึ้น 2.แผงจำหน่ายสินค้าได้มาตรฐานตามหลักสุขภิบาลอาหาร ของกรมอนามัย


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อเฝ้าระวัง และตรวจสอบความปลอดภัยด้านอาหาร 2.เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับผู้จำหน่ายสินสินค้าเรื่องความปลอดภัยด้านอาหารและแหล่งรับซื้อผลิตอาหารที่สะอาดมีคุณภาพจากแหล่งที่น่าเชื้อถือได้ 3.เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ผู้บริโภคมีความรู้ ความเข้าในใจการเลืกซื้ออาหารได้อย่างถูกต้อง และบริโภคอาหารที่ปลอดภัย
    ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ของตัวอย่างอาหารปรุงสุกได้รับการตรวจเฝ้าระวังเชื้อโรค 2.ร้อยละ 80 ของตัวอย่างอาหารที่เข้าข่ายมีสารปนเปื้อนได้รับการตรวจเฝ้าระวังสารปนเปื้อนในอาหาร 3.ร้อยละ 80 ของผู้จำหน่ายสินค้าได้รับความรู้ความเข้าใจเรื่องความปลอดภัย ด้านอาหาร และแหล่งรับซื้อผลิตสินค้าที่สะอาด มีคุณภาพจากแหล่งที่น่าเชื้อถือได้ 4.ร้อยละ 80 ของผู้บริโภคได้รับความรู้ความเข้าใจในการเลอกซื้ออาหารได้อย่างถูกต้อง และได้บริโภคอาหารที่ปลอดภัย

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อเฝ้าระวัง และตรวจสอบความปลอดภัยด้านอาหาร 2.เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับผู้จำหน่ายสินสินค้าเรื่องความปลอดภัยด้านอาหารและแหล่งรับซื้อผลิตอาหารที่สะอาดมีคุณภาพจากแหล่งที่น่าเชื้อถือได้ 3.เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ผู้บริโภคมีความรู้ ความเข้าในใจการเลืกซื้ออาหารได้อย่างถูกต้อง และบริโภคอาหารที่ปลอดภัย

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเฝ้าระวังอาหารสะอาดปลอดภัยปราศจากสารปนเปื้อน ในตลาดสดเทศบาลเมืองปัตตานี (ประเภทที่ 1) จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 66-L7884-1-06

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางทรงสิริ มะนีวัน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด