กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง


“ To be number one ดาริงใต้ ปี 66 ”

หมู่ที่ 4 ชุมชนดาริงใต้ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายมะซันโซดิน แวดอเลาะ

ชื่อโครงการ To be number one ดาริงใต้ ปี 66

ที่อยู่ หมู่ที่ 4 ชุมชนดาริงใต้ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L3065-2-17 เลขที่ข้อตกลง 17/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"To be number one ดาริงใต้ ปี 66 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 4 ชุมชนดาริงใต้ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
To be number one ดาริงใต้ ปี 66



บทคัดย่อ

โครงการ " To be number one ดาริงใต้ ปี 66 " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 4 ชุมชนดาริงใต้ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 66-L3065-2-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 120 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สภาเยาวชน บ้านดาริงใต้ เป็นส่วนหนึ่งของชุมชน ที่มีความใกล้ชิดกับวัยรุ่นในพื้นที่ ได้มีกิจกรรมหลายๆกิจกรรมปฏิสัมพันธ์กับวัยรุ่น มาหลายปี เช่น การจัดกิจกรรมเพื่อให้เยาวชนได้มีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ การจัดกิจกรรมจิตอาสาเพื่อช่วยเหลือชุมชนในด้านต่างๆ เป็นต้น จากการสังเกตและรวบรวมข้อมูลของสภาฯ พบว่าเยาวชนในพื้นที่มีความเสี่ยงกับการติดหรือเสพยาเสพติดสูง เนื่องจากชุมชนเป็นชุมชนแออัด ประชากรหนาแน่น และเป็นชุมชนเปิดที่มีถนนสายหลักผ่าน หมู่บ้านหลายเส้นทางเยาวชนที่เป็นผู้ชายไม่ค่อยให้ความสำคัญกับการเรียนหนังสือ ชอบนั่งร้านน้ำชา มีพฤติกรรมที่สูบบุหรี่ ตั้งแต่อายุ 15 ปีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 13
ทางสภาฯมองเห็นว่าการปลูกจิตสำนึกด้านจิตสาธารณะ คือการปลูกฝังจิตใจให้แก่บุคคลมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เป็นการสร้างคุณธรรม จริยธรรมภายในให้บุคคลรู้จักการเสียสละ ร่วมแรงร่วมใจ ร่วมมือในการจัดกิจกรรมต่างๆที่เป็นประโยชน์เพื่อส่วนรวม เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและสร้างประโยชน์สุขของคนในสังคม ในสิทธิหน้าที่และการบำรุงรักษาร่วมกัน เกื้อกูลช่วยเหลือทุกข์ยากหรือผู้ที่ร้องขอความช่วยเหลือโดยไม่ขัดต่อกฎหมายหรือกฎระเบียบสังคม ลักษณะประการหนึ่งของกิจกรรมสาธารณะก็คือเป็นกิจกรรรมตามความสมัครใจ เยาวชนต้องลงมือทำด้วยความรับผิดชอบต่อหน้าที่ โดยคำนึงถึงผู้ที่จะได้รับจากการกระทำนั้นจึงทำให้เยาวชนที่จะเข้าร่วมกิจกรรมสามารถที่จะพัฒนาคุณลักษณะพึงประสงค์โดยมุ่งเน้นปลูกฝังให้เยาวชนมีจิตสาธารณะที่พร้อมจะช่วยเหลือสังคม จะต้องเริ่มให้เยาวชนเริ่มมีจิตสำนึกอาสาเป็นจุดเริ่มต้นของการเป็นผู้นำสังคมอย่างมีจิตสำนึกต่อไปและที่สำคัญต้องมีกิจกรรมการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ หากเยาวชนได้มีการรวมตัวกัน มีความเข้าใจในรูปแบบการดำเนินชีวิตที่เหมือนกันก่อให้เกิดความสามัคคีกัน ภัยคุกคามต่างๆจากภายนอก ก็จะไม่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของเยาวชนและประชาชนในพื้นที่ เพราะเยาวชนคือกำลัง พลัง อนาคตของชุมชน เพื่อเป็นการส่งเสริมให้เยาวชนในพื้นที่ได้มีจิตอาสา มีจิตสำนึกที่ดีและกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง และสร้างภูมิคุ้มกันให้กับเยาวชนในพื้นที่ให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม กิจกรรมที่สำคัญที่ทิ้งไม่ได้เพื่อเป็นการขับเคลื่อนกระบวนการมีส่วนร่วมของเยาวชนในพื้นที่อีกเรื่องหนึ่งคือการส่งเสริมกิจกรรมการเคลื่อนขยับทางกาย จึงได้จัดทำโครงการ To be number one ดาริงใต้ ปี 66 ขึ้น เพื่อการดำเนินงานตามกิจกรรมที่ได้มติจากการประชุมของสมาชิกสภาฯ จึงจัดทำโครงการขอรับการพิจารณาจากการคณะกรรมการกองทุนฯ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เยาวชนในพื้นที่ได้มีการออกกำลังกายใช้เวลาว่างให้เป็นประโยช์ไม่มั่วสุมกับยาเสพติด
  2. เพื่อพัฒนาศักยภาพของสภาเยาวชน ในพื้นที่ในการเฝ้าระวังการระบาดของยาเสพติดและกิจกรรมเป็นประโยชน์ต่อชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. พัฒนาศักยภาพองค์ความรู้ของสมาชิกสภาฯ
  2. ส่งเสริมกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกาย การขยับกาย
  3. ส่งเสริมกิจกรรมจิตอาสารักสุขภาพ รักตนเอง รักชุมชน
  4. ประเมินผลการดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 120
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เยาวชนได้ตระหนักให้ความสำคัญต่อสุขภาพของตนเอง และคนรอบข้าง
  2. เยาวชนมีพฤติกรรมไม่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด สามารถปฏิบัติตนในแนวทางที่ถูกต้อง เหมาะสมและเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้อื่น ในสถานศึกษา และชุมชุน
  3. เยาวชนตระหนักในกิจกรรมจิตอาสา
  4. เยาวชนเป็นกำลังหลักของหมู่บ้านในทุกเรื่อง
  5. เยาวชนมีความรู้สึกสำคัญมีคุณค่าในตนเอง และชุมชน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เยาวชนในพื้นที่ได้มีการออกกำลังกายใช้เวลาว่างให้เป็นประโยช์ไม่มั่วสุมกับยาเสพติด
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของเยาวชนในพื้นที่ได้มีการออกกำลังกาย การขยับกายย่างต่อเนื่อง อย่างน้อยสัปดาห์ละ 2 ครั้งๆ ละไม่น้อยกว่า 30 นาที
120.00 96.00

 

2 เพื่อพัฒนาศักยภาพของสภาเยาวชน ในพื้นที่ในการเฝ้าระวังการระบาดของยาเสพติดและกิจกรรมเป็นประโยชน์ต่อชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของเยาวชนในพื้นที่ได้มีการรวมกลุ่มทำกิจกรรมที่เป็น การเฝ้าระวังการระบาดของยาเสพติดและกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อชุมชน
120.00 108.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 120
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เยาวชนในพื้นที่ได้มีการออกกำลังกายใช้เวลาว่างให้เป็นประโยช์ไม่มั่วสุมกับยาเสพติด (2) เพื่อพัฒนาศักยภาพของสภาเยาวชน ในพื้นที่ในการเฝ้าระวังการระบาดของยาเสพติดและกิจกรรมเป็นประโยชน์ต่อชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) พัฒนาศักยภาพองค์ความรู้ของสมาชิกสภาฯ (2) ส่งเสริมกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกาย การขยับกาย (3) ส่งเสริมกิจกรรมจิตอาสารักสุขภาพ รักตนเอง รักชุมชน (4) ประเมินผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


To be number one ดาริงใต้ ปี 66 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L3065-2-17

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายมะซันโซดิน แวดอเลาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด