กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่


“ โครงการเด็กลำใหม่ 3 ดี (โภชนาการดี พัฒนาการดี ฟันดี และวัคซีนตามเกณฑ์) ”

ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายดุษฎี ปาลกาลย์

ชื่อโครงการ โครงการเด็กลำใหม่ 3 ดี (โภชนาการดี พัฒนาการดี ฟันดี และวัคซีนตามเกณฑ์)

ที่อยู่ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 66-L4141-01-08 เลขที่ข้อตกลง 012/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 พฤษภาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเด็กลำใหม่ 3 ดี (โภชนาการดี พัฒนาการดี ฟันดี และวัคซีนตามเกณฑ์) จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กลำใหม่ 3 ดี (โภชนาการดี พัฒนาการดี ฟันดี และวัคซีนตามเกณฑ์)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเด็กลำใหม่ 3 ดี (โภชนาการดี พัฒนาการดี ฟันดี และวัคซีนตามเกณฑ์) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 66-L4141-01-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 พฤษภาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 54,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กแรกเกิดถึง 5 ปี เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าในอนาคต เด็กที่มีคุณภาพ คือ เด็กที่มีการเจริญเติบโตสมบูรณ์ทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์ สังคม มีพัฒนาการสมวัย และสุขภาพช่องปากที่ดี หากเด็กไม่ได้รับการประเมินสุขภาพ ภาวะโภชนาการ พัฒนาการ และสุขภาพช่องปาก จะส่งผลกระทบต่อการทำกิจกรรมและสติปัญญา ทั้งนี้รวมถึงการสร้างภูมิต้านทานโรคซึ่งเด็กทุกคนควรได้รับวัคซีนพื้นฐานครบทุกชนิดตามกำหนดของกระทรวงสาธารณสุข เพื่อลดอัตราป่วยและตายด้วยวัยที่ไม่สมควรเนื่องจากโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน เพื่อที่เด็กจะได้มีประสิทธิภาพในการทำกิจกรรมต่างๆได้อย่างเต็มที่ ไม่เจ็บป่วยบ่อยหรือเป็นนาน บิดา มารดา และครอบครัว คือบุคคลที่มีบทบาท สำคัญของการเลี้ยงดูเด็ก และสร้างเสริมประสบการณ์ต่างๆ ให้แก่เด็ก หากบิดา มารดา และครอบครัว ขาดความรู้ความเข้าใจ ไม่เห็นความสำคัญของการเลี้ยงดูเด็ก จะส่งผลต่อภาวะสุขภาพของเด็กในอนาคต

จากสถานการณ์เด็กปฐมวัยในพื้นที่ตำบลลำใหม่ ในปี 2564 และ ปี 2565 ที่ผ่านมาพบว่าเด็กปฐมวัยได้รับการคัดกรองและสมวัยครั้งแรก ร้อยละ 78.8 และร้อยละ 71.24 สงสัยพัฒนาการล่าช้า ร้อยละ 10.43 และร้อยละ 23.10 ด้านโภชนาการมีภาวะสูงดีสมส่วนร้อยละ 74.73 และร้อยละ 62.50 ตามลำดับ ซึ่งเด็กปฐมวัยเป็นช่วงที่มีการเจริญเติบโตที่รวดเร็ว การได้รับสารอาหารที่ไม่เพียงพอจะมีผลกระทบต่อเด็กได้ ในด้านการดูแลสุขภาพช่องปาก เด็กอายุ 0-3 ปีได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากในปี 2564 71 ราย พบฟันผุ 1 ราย และในปี 2565 ได้รับการตรวจ 28 ราย พบฟันผุ 2 ราย จะเห็นได้ว่าเด็กที่เข้ามารับบริการตรวจสุขภาพช่องปากลดลง แต่ มีฟันผุเพิ่มมากขึ้นจากผลการปฏิบัติงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำใหม่ อำเภอเมือง จังหวัดยะลา ปี 2566 (ข้อมูล ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2565 – 28 กุมภาพันธ์ 2566) ที่ผ่านมาพบว่าเด็กอายุครบ 1 ปี มีความครอบคลุมของการได้รับวัคซีน 52.83 % เด็กอายุครบ 2 ปีมีความครอบคลุมของการได้รับวัคซีน 62.90 %เด็กอายุครบ 3 ปี มีความครอบคลุมของการได้รับวัคซีน 76.79 % และเด็กอายุครบ 5 ปี มีความครอบคลุมของการได้รับวัคซีน 68.63 % ซึ่งต่ำกว่ามาตรฐานที่กำหนด ฉะนั้นเพื่อให้การดำเนินงานครอบคลุมจึงจำเป็นต้องดำเนินการเร่งรัด ติดตาม ค้นหาเด็กตามกลุ่มเป้าหมายให้มารับการฉีดวัคซีนทุกคนเพื่อการป้องกันโรคที่อาจจะเกิดขึ้นกับประชากรกลุ่มอายุ 0-5 ปี ในอนาคตต่อไป

จากสภาพปัญหาดังกล่าวข้างต้น จึงได้จัดทำการส่งเสริมสุขภาพของเด็กปฐมวัย เพื่อแก้ปัญหาและเสริมสร้างปลูกฝังสุขนิสัยที่ดีในการเลือกรับประทานอาหารให้เหมาะสมกับความต้องการของร่างกาย และให้ถูกต้องตามหลักโภชนาการ การดูแลสุขภาพช่องปากที่ดีได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ เพื่อให้เด็กปฐมวัยสามารถพัฒนาสุขภาพของตนเองได้อย่างยั่งยืน และที่สำคัญผู้ปกครองและอสม.ที่อยู่ในชุมชน จำเป็นต้องมีความรู้เรื่องการตรวจประเมินพัฒนาการด้วยตนเองเบื้องต้นได้ การเลือกอาหารที่เหมาะสมของเด็กปฐมวัย การส่งเสริมดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง เข้าใจและสามารถแนะนำการรับวัคซีนตามวัยได้ด้วย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้เด็ก 0-5 ปีได้รับการคัดกรองพัฒนาการ โภชนาการ ตามวัย
  2. ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็ก และอสม. มีทักษะความรู้เรื่องการดูแลช่องปากที่ถูกต้องและสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
  3. เพื่อให้เด็กอายุ 0 – 5 ปีได้รับวัคซีนตามเกณฑ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้และกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 30
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ร้อยละ 100 ของผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็ก และอสม.ได้รับการฝึกการทำความสะอาดช่องปาก และประเมินภาวะโภชนาการและการกระตุ้นพัฒนาการเบื้องต้น
  2. ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานในเด็ก 0-5 ปี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
  3. ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็ก มีความตระหนักในการพาเด็กมารับบริการตรวจประเมินพัฒนาการ โภชนาการ ตรวจสุขภาพช่องปาก และฉีดวัคซีน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้เด็ก 0-5 ปีได้รับการคัดกรองพัฒนาการ โภชนาการ ตามวัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโภชนาการ พัฒนาการ และการดูแลสุขภาพช่องปาก ของเด็กปฐมวัย

 

2 ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็ก และอสม. มีทักษะความรู้เรื่องการดูแลช่องปากที่ถูกต้องและสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถประเมินภาวะโภชนาการ ตรวจพัฒนาการตามวัย และแปรงฟัน ได้ถูกต้อง

 

3 เพื่อให้เด็กอายุ 0 – 5 ปีได้รับวัคซีนตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 เด็กอายุ 0 – 5 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 30
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้เด็ก 0-5 ปีได้รับการคัดกรองพัฒนาการ โภชนาการ ตามวัย (2) ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็ก และอสม. มีทักษะความรู้เรื่องการดูแลช่องปากที่ถูกต้องและสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ (3) เพื่อให้เด็กอายุ 0 – 5 ปีได้รับวัคซีนตามเกณฑ์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้และกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเด็กลำใหม่ 3 ดี (โภชนาการดี พัฒนาการดี ฟันดี และวัคซีนตามเกณฑ์) จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 66-L4141-01-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายดุษฎี ปาลกาลย์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด