กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสตูล


“ โครงการจัดตั้งศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพโดยชุมชน ตำบลพิมาน อำเภอเมือง จังหวัดสตูลปีงบประมาณ 2566 ”

ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุและผู้พิการ เทศบาลเมืองสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางจิราภรณ์ เอี้ยวเหล็ก

ชื่อโครงการ โครงการจัดตั้งศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพโดยชุมชน ตำบลพิมาน อำเภอเมือง จังหวัดสตูลปีงบประมาณ 2566

ที่อยู่ ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุและผู้พิการ เทศบาลเมืองสตูล จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L8008-03-31 เลขที่ข้อตกลง 30/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2566 ถึง 31 มกราคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการจัดตั้งศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพโดยชุมชน ตำบลพิมาน อำเภอเมือง จังหวัดสตูลปีงบประมาณ 2566 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุและผู้พิการ เทศบาลเมืองสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสตูล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการจัดตั้งศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพโดยชุมชน ตำบลพิมาน อำเภอเมือง จังหวัดสตูลปีงบประมาณ 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการจัดตั้งศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพโดยชุมชน ตำบลพิมาน อำเภอเมือง จังหวัดสตูลปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุและผู้พิการ เทศบาลเมืองสตูล รหัสโครงการ 66-L8008-03-31 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2566 - 31 มกราคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 134,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสตูล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์ของสังคมโลกปัจจุบัน กำลังเปลี่ยนผ่านเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) ความก้าวหน้าด้านการแพทย์และสาธารณสุขของประเทศไทย อัตราการเกิดน้อยลง ประชากรมีอายุยืนยาวมากขึ้นจะส่งผลให้คาดว่าอีก 20 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะเป็นสังคมสูงวัยระดับยอดสูงสุด คือ มีสัดส่วนประชากรผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไปคิดเป็นร้อยละ 20 ขึ้นไป อาจกล่าวได้ว่าในปี 2564 ประเทศไทยจะกลายเป็น “สังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์” (Aged Society) และจากนั้นอีก 10 ปี ประเทศไทยจะกลายเป็น “สังคมสูงวัยระดับยอดสูงสุด” (Supper - Aged Society) จากสภาพปัญหาและสถานการณ์ของผู้สูงอายุ ที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วส่งผลกระทบทางสุขภาพ เศรษฐกิจ สังคม การส่งเสริมสุขภาพและการฟื้นฟูผู้สูงอายุ ให้มีสุขภาพดี เพื่อยืดเวลาที่จะเกิดการเจ็บป่วย การเกิดความพิการ ยืดเวลาการเข้าสู่ภาวะทุพพลภาพออกไป โดยจำนวนประชากรกลุ่มผู้สูงอายุและผู้พิการในจังหวัดสตูล พบว่ามีจำนวนผู้สูงอายุทั้งหมด36,298คน และผู้พิการจำนวนทั้งหมด 8,128 คน ทั้งนี้ผู้สูงอายุและผู้พิการส่วนใหญ่ในจังหวัดสตูลมีปัญหาสุขภาพ เจ็บป่วยเรื้อรัง เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ข้อเข่าเสื่อม หลอดเลือดสมอง อาการปวดหลัง ปวดไหล่ ภาวะข้อติด
นอกจากนี้ยังพบผู้พิการมีสาเหตุมาจากอุบัติเหตุ เช่น อุบัติเหตุทางถนน พิการแต่กำเนิด ฯลฯ โดยมีจำนวนกลุ่มผู้สูงอายุและผู้พิการ ผู้ป่วยกลุ่มติดเตียงมีแนวโน้มสูงขึ้น โดยสถานการณ์ปัจจุบัน ตำบลพิมาน มีจำนวนผู้พิการจำนวน 242 คน ผู้สูงอายุทั้งหมด จำนวน 3,727คน ผู้สูงอายุติดบ้าน 6 ราย ผู้สูงอายุติดเตียง 13 ราย ในจำนวนนี้ มีผู้ป่วยระยะกึ่งเฉียบพลัน 8 ราย ผู้ป่วยที่ต้องได้รับการฟื้นฟูหลังประสบอุบัติเหตุ 8 ราย ผู้ที่มีอาการปวดไหล่ ไหล่ติด 42 ราย ผู้ที่มีอาการปวดหลัง 53 ราย ผู้ที่มีอาการปวดเข่า มีภาวะข้อเข่าเสื่อม 72 ราย ผู้ป่วยที่มีภาวะข้อติด 9 ราย ประกอบกับแผนกกายภาพบำบัด โรงพยาบาลสตูล มีจำนวนผู้ป่วยมารับบริการเพิ่มขึ้นในทุกกลุ่มโรค คิดเป็นผู้ป่วยกลุ่มผู้สูงอายุสูงถึงร้อยละ 70 รองลงมาคือวัยทำงาน และผู้พิการ การดูแลรักษาฟื้นฟูจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง เนื่องจากหากได้รับการฟื้นฟูช้า จะส่งให้มีความพิการ มีความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันลดลง ต้องอยู่ในภาวะภาวะพึ่งพิงผู้อื่นเพิ่มขึ้นซึ่งทางโรงพยาบาลสตูลมีนโยบายร่วมกับหน่วยงานภาครัฐในท้องถิ่น ภาคประชาชน ในการจัดตั้งศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพโดยชุมชน (CBR : community-based rehabilitation) ให้มีศักยภาพ เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการให้กับประชาชนตำบลฉลุง และพื้นที่ใกล้เคียง เนื่องจากการประเมินศักยภาพ วิเคราะห์ร่วมกันในเขตเทศบาลตำบลฉลุง มีความพร้อมทั้งด้านภาคประชาชน มีสถานที่ดำเนินการ อีกทั้งความร่วมมือของหน่วยงานภาครัฐและภาคีเครือข่าย ทั้งนี้เพื่อลดความแออัดใน โรงพยาบาลสตูล ลดระยะเดินทาง ตลอดจนค่าใช้จ่าย ลดภาระแก่ผู้สูงอายุ ผู้พิการและญาติ
ดังนั้นทางศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุและผู้พิการ ใคร่ขอการสนับสนุนจัดทำโครงการจัดตั้งศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพโดยชุมชน ตำบลพิมาน การจัดอบรมอาสาสมัครประจำศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพโดยชุมชนตำบลพิมานและการจัดซื้อวัสดุเพื่อการรักษาฟื้นฟูทางกายภาพบำบัดเพื่อใช้ในการรักษาฟื้นฟูสมรรถภาพ ทั้งในศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพโดยชุมชนตำบลพิมาน และพื้นที่ใกล้เคียงตลอดจนสามารถพกพาให้บริการในชุมชนได้ เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงการรับบริการทางด้านสาธารณสุขในพื้นที่ ส่งผลให้มีความรวดเร็วในการรักษา ฟื้นฟู ส่งเสริมคุณภาพชีวิต ลดความพิการและภาวะแทรกซ้อน มีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้นไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้สูงอายุ ผู้ที่มีอาการปวด ผู้ป่วยระยะกึ่งเฉียบพลัน และผู้พิการในชุมชนตำบลพิมาน เข้าถึงบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ได้รับบริการที่มีคุณภาพ ต่อเนื่อง ลดค่าใช้จ่ายในการเดินทาง
  2. เพื่อพัฒนาอาสาสมัครในชุมชน ให้มีความสามารถฟื้นฟูสมรรถภาพแก่ประชาชนในชุมชนได้
  3. เพื่อส่งเสริมให้ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพโดยชุมชน มีการบริการด้านกิจกรรมบำบัดให้แก่ผู้ป่วยภายในศูนย์ฯ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะกรรมการศูนย์ฟื้นฟูฯ เทศบาลเมืองสตูล
  2. อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครประจำศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพโดยชุมชน ตำบลพิมาน (CBR)หลักสูตร 21 ชั่วโมง จำนวน 30 คน
  3. การจัดทำเครื่องมือทางกายภาพบำบัดสำหรับใช้ในศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพโดยชุมชนตำบลพิมาน (CBR)
  4. ติดตามประเมินผล การดำเนินงานผลการใช้เครื่องมือของศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพโดยชุมชนตำบลพิมาน (CBR)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 15
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. มีอาสาสมัครประจำศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการตำบลพิมาน ทำให้ผู้สูงอายุ/ผู้ป่วยระยะกึ่งเฉียบพลัน และผู้พิการสามารถเข้าถึงบริการของรัฐโดยชุมชนมีส่วนร่วม อย่างทั่วถึง สะดวก ลดค่าใช้จ่ายค่าเดินทาง มีผลลัพธ์ที่ดี ได้รับการดูแลต่อเนื่อง
  2. ผู้สูงอายุ/ ผู้ป่วยระยะกึ่งเฉียบพลันและผู้พิการในชุมชนตำบลพิมาน ได้รับการรักษาโดยเครื่องมืออุปกรณ์ทางกายภาพบำบัดที่มีคุณภาพ ปลอดภัย ทันสมัย ลดภาวะพึ่งพิง ลดความพิการ คุณภาพชีวิตดี

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้สูงอายุ ผู้ที่มีอาการปวด ผู้ป่วยระยะกึ่งเฉียบพลัน และผู้พิการในชุมชนตำบลพิมาน เข้าถึงบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ได้รับบริการที่มีคุณภาพ ต่อเนื่อง ลดค่าใช้จ่ายในการเดินทาง
ตัวชี้วัด : เกิดศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพโดยชุมชน ตำบลพิมาน 1 แห่ง
0.00 1.00

 

2 เพื่อพัฒนาอาสาสมัครในชุมชน ให้มีความสามารถฟื้นฟูสมรรถภาพแก่ประชาชนในชุมชนได้
ตัวชี้วัด : เกิดอาสาสมัครในชุมชน และมีความสามารถฟื้นฟูสมรรถภาพแก่ประชาชนในชุมชนได้
30.00 0.00

 

3 เพื่อส่งเสริมให้ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพโดยชุมชน มีการบริการด้านกิจกรรมบำบัดให้แก่ผู้ป่วยภายในศูนย์ฯ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของผู้ป่วยที่ต้องรับบริการกิจกรรมบำบัด ได้รับการฟื้นฟู
10.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 45
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 15
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุ ผู้ที่มีอาการปวด ผู้ป่วยระยะกึ่งเฉียบพลัน และผู้พิการในชุมชนตำบลพิมาน เข้าถึงบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ได้รับบริการที่มีคุณภาพ ต่อเนื่อง ลดค่าใช้จ่ายในการเดินทาง (2) เพื่อพัฒนาอาสาสมัครในชุมชน ให้มีความสามารถฟื้นฟูสมรรถภาพแก่ประชาชนในชุมชนได้ (3) เพื่อส่งเสริมให้ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพโดยชุมชน มีการบริการด้านกิจกรรมบำบัดให้แก่ผู้ป่วยภายในศูนย์ฯ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะกรรมการศูนย์ฟื้นฟูฯ เทศบาลเมืองสตูล (2) อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครประจำศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพโดยชุมชน ตำบลพิมาน (CBR)หลักสูตร 21 ชั่วโมง จำนวน 30 คน (3) การจัดทำเครื่องมือทางกายภาพบำบัดสำหรับใช้ในศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพโดยชุมชนตำบลพิมาน (CBR) (4) ติดตามประเมินผล การดำเนินงานผลการใช้เครื่องมือของศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพโดยชุมชนตำบลพิมาน (CBR)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการจัดตั้งศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพโดยชุมชน ตำบลพิมาน อำเภอเมือง จังหวัดสตูลปีงบประมาณ 2566 จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L8008-03-31

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางจิราภรณ์ เอี้ยวเหล็ก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด