กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริม-ป้องกัน ติดตามทันตสุขภาพเด็ก 0-5 ปี เทศบาลเมืองปัตตานี (ประเภทที่1) ”
ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางสาวทิพย์มณี บุญไพฑูรย์




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริม-ป้องกัน ติดตามทันตสุขภาพเด็ก 0-5 ปี เทศบาลเมืองปัตตานี (ประเภทที่1)

ที่อยู่ ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L7884-1-08 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริม-ป้องกัน ติดตามทันตสุขภาพเด็ก 0-5 ปี เทศบาลเมืองปัตตานี (ประเภทที่1) จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริม-ป้องกัน ติดตามทันตสุขภาพเด็ก 0-5 ปี เทศบาลเมืองปัตตานี (ประเภทที่1)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริม-ป้องกัน ติดตามทันตสุขภาพเด็ก 0-5 ปี เทศบาลเมืองปัตตานี (ประเภทที่1) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 66-L7884-1-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 45,580.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคฟันผุในเด็กเล็กมีสาเหตุสำคัญมาจากการได้รับเชื้อที่เป็นสาเหตุหลักของฝันผุ ในช่วงที่ฟันเริ่มขึ้นมาในช่องปากร่วมกับการที่เด็กินอาหารที่มีน้ำตาลสูง อละไม่ได้รับการแปรงฟัน การส่งเสริมสุขภาพและป้องกีนโรคฟันผุในเด็กเล็ก ทำได้โดยการให้ความรู้แก่ผู้ปกครองให้เข้าใจถึงปัญหาสาเหตุของโรคตลอดจนถึงการป้องกัน ในปัจจุบันเด็กไทยมีฟันผุถึงร้อยละ 87.4 ในเด็กอายุ 5 ปี ฟันผุเกิดได้รวดเร็วและรุนแรงในช่วงอายุ 1-3 ปี เด็กที่มีฟันผุรุนแรงจะเลือกกินอาหารอ่อนที่ไม่ต้องเคี้ยว ทำให้เด็กไม่ได้รับอาหารที่ครบถ้วนตามวัย ส่งผลต่อการเจริญเติบโต การเรียนรู้และพัฒนาการของเด็กในช่วงวัยสำคัญที่สุดของชีวิต ฟันผุเป็นโรคติดเชื้อที่มักได้รับจากแม่หรือผู้เลี้ยงดูที่มีฟันผุร่วมกับการได้รับอาหารที่มีน้ำตาลเป็นจำนวนมาก และไม่ได้รับการแปรงฟัน การป้องกันสามารถทำได้ถ้าผู้เลี้ยงดูเด็กให้ความสำคัญในการดูแลสุขภาพช่องปากกับเด็ก     ฟันน้ำนมซี่แรกขึ้นเมื่ออายุประมาณ 6 เดือน และทยอยขึ้นจนครบ 20 ซี่ เมื่อลูกอายุ 2-3 ปี ซึ่งเป็นวัยที่ยังไม่สามารถดูแลสุขภาพช่องปากได้ด้วยตนเอง พ่อแม่ผู้ปกครองจึงมีบทบาทสำคัญที่ทำให้ลูกสุขภาพฟันดีเราสามารถเริ่มแปรงฟันให้เด็กได้เมื่อฟันน้ำนมซี่แรกขึ้นในช่องปาก โดยเริ่มด้วยการใช้ผ้านุ่มๆที่สะอาดชุบน้ำพอหมาดๆเช็ดฟันเพื่อฝึกให้เด็กคุ้นเคย หลังจากนั้นเมื่อฟัน 2 ซี่ล่างขึ้นเต็มซี่จึงเริ่มใช้แปรงสีฟันขนนุ่มแปรงได้ การแปรงฟันในเด็กอายุก่อน 1 ขวบ มักพบปัญหาว่าเด็กไม่ยอมอ้าปาก หรืออยู่นิ่งเพื่อให้แปรงฟันบางคนอาจร้องไห้หรือดิ้น ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีผู้ช่วยจับเด็กอยู่นิ่งขณะแปรงฟัน หากจำเป็นต้องแปรงโดยไม่มีผู้ช่วยก็ควรแปรงฟันในท่าทางที่สามารถมองเห็นลูกได้ชัดเจน เช่น แม่นั่งบนเก้าอี้ยาว หรือบนพื้นให้ลูกนอนหงายเอาศรีษะหนุนตักแม่ ให้แม่และลูกหันหน้าไปทางเดียวกัน วิธีนี้จะทำให้เห็นฟันชัดเจนขึ้น และสามารถแปรงได้ทั่วถึง     ฟลูออไรด์จัดเป็นองค์ประกอบ 1 ใน 5 ที่สำคัญในการป้องกันฟันผุ ซึ่งได้แก่ การทำความสะอาดฟันและใช้ไหมขัดฟันอย่างถูกวิธี การปรับพฤติกรรมการบริโภคอาหาร การใช้ฟลูออไรด์ การเคลือบหลุมร่องฟัน และการตรวจสุขภาพฟันอย่างสม่ำเสมอทุกๆ 6 เดือน ฟลูออไรด์เป็นเเร่ธาตุชนิดหนึ่งที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันฟันผุ มีผลในการป้องกันฟันผุได้ 2 วิธี คือ
    1.ผลเฉพาะที่ (Topical effect) คือการใช้ฟลูออไรด์สัมผัสผิวฟันโดยตรง ซึ่งสามารถทำได้โดยการแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ การใช้น้ำยาบ้วนปากฟลูออไรด์ การเคลือบฟลูออไรด์โดยทีนตบุคลากร การขัดฟันด้วยสารฟลูออไรด์     2.ผลทางระบบ (Systemic effect) คือการที่เด็กรับประทานฟลูออไรด์เข้าไป เพื่อมุ่งผลให้ฟลูออไรด์เข้าไปโครงสร้างของฟัน ขณะที่ฟันกำลังเจริญเติบโต ในรูปแบบของฟลูออไรด์ในน้ำดื่ม นมผสมฟลูออไรด์ ยาเม็ดฟลูออไรด์ สำหรับเด็กการได้รับฟลูออไรด์เสริมที่ให้ผลเฉพาะที่สามารถเริ่มได้ตั้งแต่ฟันน้ำนมซี่แรกขึ้น แต่สิ่งสำคัญการใช้ฟลูออไรด์เพียงอย่างเดียวไม่สามารถป้องกันฟันผุได้ ดังนั้น เราจำเป็นต้องทำความสะอาดโดยการแปรงฟันอย่างถูกวิธี การปรับพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ลดอาหารเหนี่ยวติดฟัน ลดอาหารระหว่างมื้อ รวมไปถึงพบทันตแพทย์เพื่อตรวจสุขภาพฟันอย่างสม่ำเสมอทุก 6 เดือน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้เด็กเล็ก 0-5 ปี ในเขตพื้นที่ตำบลจะบังติกอได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก 2.เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กล็ก 0-5 ปี ได้รับความรู้้านการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็กเล็ก 3.เพื่อให้ อสม ในพื้นที่มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากเบื้องต้นแก่เด็ก 0-5 ปี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.เด็กเล็ก 0-5 ปี ในเขตพื้นที่รับผิดชอบตำบลจะบังติกอ ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก 2.ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก ได้รับความรู้ด้านทันตสุขภาพในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กเล็ก 3.เด็กเล็ก 0-5 ปี ในเขตพื้นที่รับผิดชอบตำบลจะบังติกอ มีสุขภาพช่องปากที่ดีสมวัย 4. อสม ในเขตพื้นที่จะบังติกอได้รับความรู้ด้านทันตสุขภาพในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กเล็กและตรวจฟันเด็กเล็กได้


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อให้เด็กเล็ก 0-5 ปี ในเขตพื้นที่ตำบลจะบังติกอได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก 2.เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กล็ก 0-5 ปี ได้รับความรู้้านการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็กเล็ก 3.เพื่อให้ อสม ในพื้นที่มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากเบื้องต้นแก่เด็ก 0-5 ปี
    ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 100 เด็กเล็ก 0-5 ปี ในเขตพื้นที่ตำบลจะบังติกอได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก และทราบถึงปัญหาทันตสุขภาพ 2.ร้อยละ 100 ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี มีความรู้ด้านการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็กเล็กแต่ละช่วงวัย 3.ร้อยละ 100 อสม ในพื้นที่มีความรู้ด้านการดูแลสุขภาพช่องปากเบื้องต้นในเด็กเล็ก 0-5 ปี

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้เด็กเล็ก 0-5 ปี ในเขตพื้นที่ตำบลจะบังติกอได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก 2.เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กล็ก 0-5 ปี ได้รับความรู้้านการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็กเล็ก 3.เพื่อให้ อสม ในพื้นที่มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากเบื้องต้นแก่เด็ก 0-5 ปี

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริม-ป้องกัน ติดตามทันตสุขภาพเด็ก 0-5 ปี เทศบาลเมืองปัตตานี (ประเภทที่1) จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 66-L7884-1-08

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวทิพย์มณี บุญไพฑูรย์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด