กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา


“ โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ชุมชนภูมาภิรมย์ ”



หัวหน้าโครงการ
นางวาสนา หริรักษ์ไพบูลย์

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ชุมชนภูมาภิรมย์

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 66 – L7452 – 2 - 7 เลขที่ข้อตกลง 15-2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 9 พฤษภาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ชุมชนภูมาภิรมย์ จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ชุมชนภูมาภิรมย์



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ชุมชนภูมาภิรมย์ " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 66 – L7452 – 2 - 7 ระยะเวลาการดำเนินงาน 9 พฤษภาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 41,945.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
ปัจจุบันเทคโนโลยีและสิ่งอำนวยความสะดวกเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวันทำให้สะดวกสบายมากยิ่งขึ้น ส่งผลให้ลักษณะอาชีพหรือพฤติกรรมการทำงานของผู้คนเปลี่ยนไป อาชีพที่ต้องใช้แรงในการทำงานหรือการเคลื่อนไหวทำกิจกรรมต่าง ๆ ลดลง ในขณะที่อาชีพนั่งโต๊ะทำงานหรือใช้แรงทำงานน้อยกลับเพิ่มมากขึ้น สอดคล้องการกับเปลี่ยนแปลงการทำงานจากยุคเกษตรกรรมหรือยุคอุตสาหกรรมไปสู่ยุคดิจิตอล จากวิถีชีวิตและพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงไปนี้ ส่งผลให้มีคนทำงานมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่าง ๆ โดยเฉพาะโรคไม่ติดต่อเรื้อรังหรือโรค NCDs ที่ส่งผลให้ต่อการเสียชีวิตของประชากรโลกเป็นอันดับต้น ๆ เช่น โรคทางระบบหัวใจและหลอดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง โรคมะเร็ง โรคไตเรื้อรัง เป็นต้นซึ่งปี 2565 สาเหตุการเสียชีวิตของประชาชนในเขตเทศบาลนครยะลา 10 อันดับแรก ได้แก่ 1.วัยชรา 2.หัวใจล้มเหลว ไม่ระบุรายละเอียด 3.ปอดบวม ไม่ระบุรายละเอียด 4.การติดเชื้อในกระแสเลือด ไม่ระบุชนิด 5.หัวใจหยุดเต้น ไม่ระบุรายละเอียด 6.หัวใจเต้นผิดจังหวะ ไม่ระบุรายละเอียด 7.การหายใจล้มเหลว ไม่ระบุรายละเอียด 8.โรคหัวใจ ไม่ระบุรายละเอียด 9.ไตวายเฉียบพลัน ไม่ระบุรายละเอียด 10.เนื้องอกร้าย ไม่ระบุรายตำแหน่ง ซึ่งเป็นการเสียชีวิตด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ถึง 6 อันดับด้วยกัน (ข้อมูลจาก HDC จังหวัดยะลา)
การป้องกันความเสี่ยงในการเกิดโรคอีกปัจจัยหนึ่ง คือการเสริมสร้างสุขภาพให้แข็งแรงทั้งร่างกายและจิตใจ ด้วยการทำกิจกรรมทางกาย การออกกำลังกาย หรือการเคลื่อนไหวร่างกายเป็นประจำ ทั้งนี้ การแพทย์วิถีธรรมเป็นการแพทย์ทางเลือกที่ใช้หลักการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม (Holistic Health Care) ศึกษาวิจัยองค์ความรู้และหลักการแพทย์วิถีธรรม โดย ดร.ใจเพชร กล้าจน ด้วยการวิจัยทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ สามารถสังเคราะห์องค์ความรู้ด้านสุขภาพ 4 เรื่อง ได้แก่ 1.สาเหตุของความเจ็บป่วยตามหลักแพทย์ทางเลือกวิถีพุทธ 4 สาเหตุหลัก9 สาเหตุย่อย 2.กลไกการเกิดและการหายของโรค/อาการเจ็บป่วย ตามหลักแพทย์ทางเลือกวิถีพุทธ 3.กลุ่มอาการเจ็บป่วย ตามหลักแพทย์ทางเลือกวิถีพุทธ 5 กลุ่มอาการ 4.การปรับสมดุลเพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพตามหลักแพทย์ทางเลือกวิถีพุทธในแนวทาง “3 สูตรปรับสมดุล 4 กลวิธีหลัก 9 เทคนิค” ซึ่งได้รับแต่งตั้งจากกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุขให้เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการแพทย์ทางเลือกวิถีธรรมเพื่อการพึ่งตนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงตั้งแต่ ปี พ.ศ.2555 และได้รับการอนุมัติหลักสูตรชื่อ “การแพทย์ทางเลือกวิถีธรรม เพื่อการพึ่งตนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง” มีปรัชญาหลักสูตร คือ บูรณาการองค์ความรู้ด้านการดูแลสุขภาพทุกศาสตร์ ด้วยธรรมะ นำไปสู่การแก้ปัญหาที่ต้นเหตุ ประหยัด เรียบง่าย ปลอดภัย ได้ผล พึ่งตนเองและช่วยเหลือผู้อื่นใช้ทรัพยากรท้องถิ่นเป็นหลัก ประยุกต์กับวิถีชีวิตอย่างยั่งยืน ซึ่งสอดคล้องกับการขับเคลื่อนนโยบายของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ร่วมกับหน่วยงานอื่น ๆ ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) “สุขภาพดีวิถีใหม่ วิถีธรรม วิถีไทย วิถีเศรษฐกิจพอเพียง” ชุมชนภูมาภิรมย์ มีประชากรทั้งสิ้น 540 คน เป็นผู้สูงอายุ 131 คน คิดเป็นร้อยละ 24.26 (ข้อมูลจากกองสวัสดิการสังคม เทศบาลนครยะลา) ได้เล็งเห็นความสำคัญและความจำเป็นของการส่งเสริมสุขภาพของประชาชนในทุกเพศทุกวัย โดยเฉพาะกลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มคนทำงาน และกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) จึงจัดโครงการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ชุมชนภูมาภิรมย์ขึ้น เพื่อกระตุ้น ส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนได้เลือกออกกำลังกายที่เหมาะสมด้วยตนเอง และสามารถใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ด้วยการรวมกลุ่มทำกิจกรรมออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอในสถานที่และเวลาที่เหมาะสมร่วมกัน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ และสามารถ ออกกำลังกายที่เหมาะสมได้ด้วยตนเอง
  2. 2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีการรวมกลุ่มออกกำลังกาย ในชุมชนภูมาภิรมย์
  3. ผู้เข้าร่วมโครงการมีการรวมกลุ่มออกกำลังกายต่อเนื่องอย่างน้อย 4 เดือน
  4. ผู้เข้าร่วมโครงกานมีความพึงพอใจในโครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 ประชุมเชิงปฏิบัติการการออกกำลังกาย ด้วยวิธี ดังนี้ 1.มาชร์ชิ่ง 2.การเดินเร็ว 3.การกายบริหารแบบโยคะ 4.การออกกำลังกายแบบซุปเปอร์พาวเวอร์ 5.การปรับสมดุลด้วยลมหายใจ 6.การนวดกดจุด จำนวน 1 วัน เป้าหมาย ประชาชนผู้สนใจ จากชุมชนภูมาภิรมย์ และชุมชนใก
  2. กิจกรรมที่ 2 ส่งเสริมการออกกำลังกาย ระยะเวลา 4 เดือน (ตั้งแต่เดือน พฤษภาคม ถึง สิงหาคม) เป้าหมาย ประชาชนผู้สนใจ จากชุมชนภูมาภิรมย์ และชุมชนใกล้เคียง จำนวน 30 คน
  3. กิจกรรมที่ 3 ติดตามและประเมินผล ผู้เข้าร่วมโครงการ จากการออกกำลังกายต่อเนื่องอย่างน้อย 4 เดือน โดยการวัดค่าดัชนีมวลกาย เป้าหมาย ประชาชนผู้สนใจ จากชุมชนภูมาภิรมย์ และชุมชนใกล้เคียง จำนวน 30 คน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 15
กลุ่มผู้สูงอายุ 15
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนในชุมชนภูมาภิรมย์ เกิดความตระหนักในการดูแลสุขภาพด้วยการออกกำลังกายที่เหมาะสมกับตนเอง
  2. เกิดการร่วมกลุ่มทำกิจกรรมออกกำลังกายในชุมชนภูมาภิรมย์
  3. สามารถป้องกัน และลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) เช่น โรคอ้วนลงพุง โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมอง โรคความดันโลหิตสูง เป็นต้น ได้
  4. สามารถนำความรู้ ไปเผยแพร่ให้แก่สมาชิกในครอบครัว และชุมชนต่อไป

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ และสามารถ ออกกำลังกายที่เหมาะสมได้ด้วยตนเอง
ตัวชี้วัด : 1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องการออกกำลังกายเพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
80.00

 

2 2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีการรวมกลุ่มออกกำลังกาย ในชุมชนภูมาภิรมย์
ตัวชี้วัด : 2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีการรวมกลุ่มออกกำลังกายอย่างน้อย 3 วัน/สัปดาห์
0.00

 

3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีการรวมกลุ่มออกกำลังกายต่อเนื่องอย่างน้อย 4 เดือน
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการออกกำลังกายต่อเนื่องอย่างน้อย 4 เดือน มีค่าดัชนีมวลกายลดลง ร้อยละ 80
0.00

 

4 ผู้เข้าร่วมโครงกานมีความพึงพอใจในโครงการ
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 15
กลุ่มผู้สูงอายุ 15
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ และสามารถ ออกกำลังกายที่เหมาะสมได้ด้วยตนเอง (2) 2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีการรวมกลุ่มออกกำลังกาย ในชุมชนภูมาภิรมย์ (3) ผู้เข้าร่วมโครงการมีการรวมกลุ่มออกกำลังกายต่อเนื่องอย่างน้อย 4 เดือน (4) ผู้เข้าร่วมโครงกานมีความพึงพอใจในโครงการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 ประชุมเชิงปฏิบัติการการออกกำลังกาย ด้วยวิธี ดังนี้  1.มาชร์ชิ่ง 2.การเดินเร็ว 3.การกายบริหารแบบโยคะ 4.การออกกำลังกายแบบซุปเปอร์พาวเวอร์ 5.การปรับสมดุลด้วยลมหายใจ 6.การนวดกดจุด จำนวน 1 วัน  เป้าหมาย ประชาชนผู้สนใจ จากชุมชนภูมาภิรมย์ และชุมชนใก (2) กิจกรรมที่ 2 ส่งเสริมการออกกำลังกาย ระยะเวลา 4 เดือน (ตั้งแต่เดือน พฤษภาคม ถึง สิงหาคม) เป้าหมาย ประชาชนผู้สนใจ จากชุมชนภูมาภิรมย์ และชุมชนใกล้เคียง จำนวน 30 คน (3) กิจกรรมที่ 3 ติดตามและประเมินผล ผู้เข้าร่วมโครงการ จากการออกกำลังกายต่อเนื่องอย่างน้อย 4 เดือน โดยการวัดค่าดัชนีมวลกาย  เป้าหมาย ประชาชนผู้สนใจ จากชุมชนภูมาภิรมย์ และชุมชนใกล้เคียง จำนวน 30 คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ชุมชนภูมาภิรมย์ จังหวัด

รหัสโครงการ 66 – L7452 – 2 - 7

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวาสนา หริรักษ์ไพบูลย์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด