กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเมืองรามันห์


“ โครงการชาวเทศบาลรามันห์ร่วมใจ ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2566 ”

ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวซากีนะ ดอละ

ชื่อโครงการ โครงการชาวเทศบาลรามันห์ร่วมใจ ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2566

ที่อยู่ ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 66-L8305-05-10 เลขที่ข้อตกลง 010/66

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชาวเทศบาลรามันห์ร่วมใจ ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2566 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเมืองรามันห์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชาวเทศบาลรามันห์ร่วมใจ ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชาวเทศบาลรามันห์ร่วมใจ ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 66-L8305-05-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 71,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเมืองรามันห์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)       โรคไข้เลือดออกเป็นโรคที่เป็นปัญหาสำคัญในพื้นที่ เป็นโรคติดต่อที่ต้องมีการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา เพื่อป้องกันการเกิดการระบาดอย่างรวดเร็ว จนส่งผลกระทบไม่สามารถควบคุมพื้นที่การระบาดและมีภาวะผู้ป่วยที่ร้ายแรงอาจถึงแก่ชีวิตได้ โดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยงในกลุ่มเด็กวัยเรียนเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูง รองลงมาคือกลุ่มประชาชนทั่วไปวัยทำงาน ซึ่งยังคงพบผู้ป่วยอย่างต่อเนื่องทุกปี จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ประชาชนควรมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันโรคไข้เลือดออก และเน้นมาตรการเชิงรุกในชุมชน พร้อมสนับสนุนเวชภัณฑ์ป้องกันโรคไข้เลือดออกให้มีความเพียงพอและพร้อมใช้งานตลอดเวลา เพื่อสามารถป้องกันโรคไข้เลือดออกได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่ดีต่อไป       จากรายงานจำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในเขตพื้นที่เทศบาลตำบลเมืองรามันห์ที่ผ่านมา พบว่า ในปี 2563 พบผู้ป่วยจำนวนทั้งสิ้น 8 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 122.24 ต่อประชากรแสนคน ในปี 2564 จำนวน 7 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 20.28 ต่อประชากรแสนคน และในปี 2565 จำนวน 9 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 24.28 ต่อประชากรแสนคน ผู้ป่วยส่วนใหญ่อยู่ในช่วงอายุ 5-9 ปี กลุ่มอาชีพนักเรียน และช่วงเวลาที่พบผู้ป่วยสูงสุดในเดือนมิถุนายนถึงกรกฎาคมของทุกปี ซึ่งจากการระบาดของโรคไข้เลือดออกดังกล่าว ทำให้มีโอกาสเกิดโรคระบาดซ้ำอยู่ในปีนี้และปีถัดไป ซึ่งอาจมีปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม บ้านเรือนติดกัน สิ่งแวดล้อมไม่สะอาด ซึ่งเอื้อต่อการทำให้เกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชนได้ ดังนั้นหากปัญหาดังกล่าวข้างต้นได้รับการแก้ไข เร่งส่งเสริมความรู้ความเข้าใจและสร้างความตระหนักในการป้องกันโรคไข้เลือดออกและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันควบคุมโรคอย่างเหมาะสม โรงพยาบาลรามัน ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาโรคไข้เลือดออกและปัจจัยสิ่งแวดล้อมอื่นๆที่เกี่ยวข้อง จึงดำเนินการจัดโครงการชาวรามันห์ร่วมใจ ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกขึ้น เพื่อดำเนินการสร้างความรู้ความเข้าใจ ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน เป็นการสร้างเกราะป้องกันและรณรงค์ให้เกิดจิตสำนึกของชุมชนให้มีส่วนร่วมในการสร้างชุมชนปลอดไข้เลือดอออก เพื่อส่งผลต่อการลดลงของอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชนและการมีสุขภาพดีถ้วนหน้าอย่างยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจและเกิดความตระหนักในการป้องกันโรคไข้เลือดออก ข้อที่ 2. เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ไม่พบการระบาดของโรคไข้เลือดออกในลักษณะเป็นกลุ่มก้อนในชุมชน
    2. ไม่พบพื้นที่ระบาดด้วยโรคไข้เลือดออกที่ไม่สามารถควบคุมการระบาดได้

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจและเกิดความตระหนักในการป้องกันโรคไข้เลือดออก ข้อที่ 2. เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก
    ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1. ประชาชนมีความรู้ความเข้าในเรื่องโรคเลือดออก ร้อยละ 90 2. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในประชาชนลดลงจากปีที่ผ่านมา ร้อยละ 10

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจและเกิดความตระหนักในการป้องกันโรคไข้เลือดออก ข้อที่ 2. เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการชาวเทศบาลรามันห์ร่วมใจ ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2566 จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 66-L8305-05-10

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวซากีนะ ดอละ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด