โครงการป้องกันและแก้ไขโรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในเด็ก
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการป้องกันและแก้ไขโรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในเด็ก ”
ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายมะรูดิง หมานสนิท
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กายูบอเกาะ
มิถุนายน 2566
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและแก้ไขโรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในเด็ก
ที่อยู่ ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 66-L4153-1-08 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 12 มิถุนายน 2566 ถึง 12 มิถุนายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันและแก้ไขโรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในเด็ก จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กายูบอเกาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและแก้ไขโรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในเด็ก
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันและแก้ไขโรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในเด็ก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 66-L4153-1-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 12 มิถุนายน 2566 - 12 มิถุนายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กายูบอเกาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในเด็กเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทย โดยอายุที่พบบ่อยในเด็กอยู่ในช่วงอายุ 6 เดือนถึง 5 ปี และในช่วงวัยรุ่นโดยเฉพาะในเพศหญิงที่เริ่มมีประจำเดือน โดยความชุกของภาวะนี้อยู่ระหว่างร้อยละ 5-30 ขึ้นกับช่วงอายุ และความแตกต่างของในแต่ละภาคของประเทศไทย โดยธาตุเหล็กเป็นแร่ธาตุที่สำคัญในการสร้างฮีโมโกลบิน ซึ่งเป็นสารสีแดงเป็นส่วนประกอบสำคัญของเม็ดเลือดแดง มีหน้าที่ขนถ่ายออกซิเจนไปเลี้ยงอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกายที่สำคัญ ได้แก่ หัวใจ ปอด ตับ ไต กล้ามเนื้อ และสมอง
ภาวะโลหิตจาง หมายถึงภาวะที่มีจำนวนของเม็ดเลือดแดงลดลง เด็กที่ขาดธาตุเหล็กจนถึงระดับที่ทำให้มีภาวะโลหิตจางจะเหนื่อยง่าย ทำกิจกรรมได้เชื่องช้ากว่าเด็กปกติ ส่งผลต่อความฉลาดของเด็ก เพราะเมื่อสมองได้รับออกซิเจนน้อยลง พัฒนาการในความคิดอ่านจะช้าลง การเจริญเติบโตและความตื่นตัวในการทำกิจวัตรต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันก็จะช้าลงด้วย ส่งผลต่อความสามารถในการเรียน การคิดคำนวณก็จะน้อยกว่าศักยภาพที่ควรจะทำได้ตามพันธุกรรม สาเหตุของการขาดธาตุเหล็กมักเกิดจากการกินอาหารที่มีธาตุเหล็กสูงไม่เพียงพอคือ เนื้อหมู เนื้อวัว ตับ เลือด ไข่แดง ผักใบเขียว มะเขือเทศ หรืออาจเกิดจากการมีพยาธิปากขอในลำไส้ ทำให้มีการสูญเสียเลือดจากทางเดินอาหารแบบเรื้อรัง หรือการสูญเสียเลือดจากสาเหตุอื่น ๆ เช่น เลือดกำเดาไหลบ่อย ประจำเดือนมามากในเด็กผู้หญิงวัยรุ่น เป็นต้น การรักษาภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กทำได้ไม่ยาก โดยการกินยาธาตุเหล็กในขนาดที่เหมาะสมตามแพทย์แนะนำเป็นเวลา 1-3 เดือน หรือจนกว่าระดับธาตุเหล็กในเลือดจะปกติและภาวะโลหิตจางหายขาด นอกจากนี้ยังต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินอาหารให้เหมาะสมและรักษาอาการเลือดออกเรื้อรังร่วมด้วยหากมีอาการ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1 เพื่อคัดกรองภาวะโลหิตจางในเด็กเล็กของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดอบต.กายูบอเกาะ 2 เพื่อติดตาม เฝ้าระวัง ประเมินสุขภาวะเด็กที่มีภาวะโลหิตจาง 3 เพื่อเสริมสร้างพัฒนาการการเติบโตของเด็กให้สมวัย 4 เพื่อให้ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครองและเด็กได้ตระหนักถึงความสำคัญของการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ตรวจคัดกรองโลหิตจางในเด็ก
- อบรมให้ความรู้
- อบรมให้ความรู้โรคโลหิตจาง
- ตรวจคัดกรองโลหิตจางในเด็ก
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
94
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
4
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 ทำให้ผู้ปกครองทราบว่าเด็กอยู่ในภาวะโลหิตจางหรือไม่
2 ผู้ปกครองเข้าใจโรคโลหิตจาง ผลกระทบที่จะเกิดจากภาวะโลหิตจางและสามารถป้องกันภาวะโลหิตจางที่จะเกิดกับเด็กได้
3 ครูผู้ดูแลเด็กตระหนักถึงความสำคัญของการจัดอาหารที่มีประโยชน์เพื่อป้องกันภาวะโลหิตจางได้
4 เด็กที่มีภาวะโลหิตจางได้รับการดูแลอย่างถูกต้อง เหมาะสมจากหน่วยงานส่งต่อ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1 เพื่อคัดกรองภาวะโลหิตจางในเด็กเล็กของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดอบต.กายูบอเกาะ 2 เพื่อติดตาม เฝ้าระวัง ประเมินสุขภาวะเด็กที่มีภาวะโลหิตจาง 3 เพื่อเสริมสร้างพัฒนาการการเติบโตของเด็กให้สมวัย 4 เพื่อให้ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครองและเด็กได้ตระหนักถึงความสำคัญของการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย
ตัวชี้วัด : 1.จำนวนเด็กที่ได้รับการตรวจค้ดกรองภาวะโลหิตจางและส่งต่อเพื่อการรักษา
100.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
98
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
94
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
4
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อคัดกรองภาวะโลหิตจางในเด็กเล็กของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดอบต.กายูบอเกาะ 2 เพื่อติดตาม เฝ้าระวัง ประเมินสุขภาวะเด็กที่มีภาวะโลหิตจาง 3 เพื่อเสริมสร้างพัฒนาการการเติบโตของเด็กให้สมวัย 4 เพื่อให้ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครองและเด็กได้ตระหนักถึงความสำคัญของการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ตรวจคัดกรองโลหิตจางในเด็ก (2) อบรมให้ความรู้ (3) อบรมให้ความรู้โรคโลหิตจาง (4) ตรวจคัดกรองโลหิตจางในเด็ก
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการป้องกันและแก้ไขโรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในเด็ก จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 66-L4153-1-08
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายมะรูดิง หมานสนิท )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการป้องกันและแก้ไขโรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในเด็ก ”
ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายมะรูดิง หมานสนิท
มิถุนายน 2566
ที่อยู่ ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 66-L4153-1-08 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 12 มิถุนายน 2566 ถึง 12 มิถุนายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันและแก้ไขโรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในเด็ก จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กายูบอเกาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและแก้ไขโรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในเด็ก
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันและแก้ไขโรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในเด็ก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 66-L4153-1-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 12 มิถุนายน 2566 - 12 มิถุนายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กายูบอเกาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในเด็กเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทย โดยอายุที่พบบ่อยในเด็กอยู่ในช่วงอายุ 6 เดือนถึง 5 ปี และในช่วงวัยรุ่นโดยเฉพาะในเพศหญิงที่เริ่มมีประจำเดือน โดยความชุกของภาวะนี้อยู่ระหว่างร้อยละ 5-30 ขึ้นกับช่วงอายุ และความแตกต่างของในแต่ละภาคของประเทศไทย โดยธาตุเหล็กเป็นแร่ธาตุที่สำคัญในการสร้างฮีโมโกลบิน ซึ่งเป็นสารสีแดงเป็นส่วนประกอบสำคัญของเม็ดเลือดแดง มีหน้าที่ขนถ่ายออกซิเจนไปเลี้ยงอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกายที่สำคัญ ได้แก่ หัวใจ ปอด ตับ ไต กล้ามเนื้อ และสมอง
ภาวะโลหิตจาง หมายถึงภาวะที่มีจำนวนของเม็ดเลือดแดงลดลง เด็กที่ขาดธาตุเหล็กจนถึงระดับที่ทำให้มีภาวะโลหิตจางจะเหนื่อยง่าย ทำกิจกรรมได้เชื่องช้ากว่าเด็กปกติ ส่งผลต่อความฉลาดของเด็ก เพราะเมื่อสมองได้รับออกซิเจนน้อยลง พัฒนาการในความคิดอ่านจะช้าลง การเจริญเติบโตและความตื่นตัวในการทำกิจวัตรต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันก็จะช้าลงด้วย ส่งผลต่อความสามารถในการเรียน การคิดคำนวณก็จะน้อยกว่าศักยภาพที่ควรจะทำได้ตามพันธุกรรม สาเหตุของการขาดธาตุเหล็กมักเกิดจากการกินอาหารที่มีธาตุเหล็กสูงไม่เพียงพอคือ เนื้อหมู เนื้อวัว ตับ เลือด ไข่แดง ผักใบเขียว มะเขือเทศ หรืออาจเกิดจากการมีพยาธิปากขอในลำไส้ ทำให้มีการสูญเสียเลือดจากทางเดินอาหารแบบเรื้อรัง หรือการสูญเสียเลือดจากสาเหตุอื่น ๆ เช่น เลือดกำเดาไหลบ่อย ประจำเดือนมามากในเด็กผู้หญิงวัยรุ่น เป็นต้น การรักษาภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กทำได้ไม่ยาก โดยการกินยาธาตุเหล็กในขนาดที่เหมาะสมตามแพทย์แนะนำเป็นเวลา 1-3 เดือน หรือจนกว่าระดับธาตุเหล็กในเลือดจะปกติและภาวะโลหิตจางหายขาด นอกจากนี้ยังต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินอาหารให้เหมาะสมและรักษาอาการเลือดออกเรื้อรังร่วมด้วยหากมีอาการ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1 เพื่อคัดกรองภาวะโลหิตจางในเด็กเล็กของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดอบต.กายูบอเกาะ 2 เพื่อติดตาม เฝ้าระวัง ประเมินสุขภาวะเด็กที่มีภาวะโลหิตจาง 3 เพื่อเสริมสร้างพัฒนาการการเติบโตของเด็กให้สมวัย 4 เพื่อให้ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครองและเด็กได้ตระหนักถึงความสำคัญของการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ตรวจคัดกรองโลหิตจางในเด็ก
- อบรมให้ความรู้
- อบรมให้ความรู้โรคโลหิตจาง
- ตรวจคัดกรองโลหิตจางในเด็ก
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 94 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 4 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 ทำให้ผู้ปกครองทราบว่าเด็กอยู่ในภาวะโลหิตจางหรือไม่ 2 ผู้ปกครองเข้าใจโรคโลหิตจาง ผลกระทบที่จะเกิดจากภาวะโลหิตจางและสามารถป้องกันภาวะโลหิตจางที่จะเกิดกับเด็กได้ 3 ครูผู้ดูแลเด็กตระหนักถึงความสำคัญของการจัดอาหารที่มีประโยชน์เพื่อป้องกันภาวะโลหิตจางได้ 4 เด็กที่มีภาวะโลหิตจางได้รับการดูแลอย่างถูกต้อง เหมาะสมจากหน่วยงานส่งต่อ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1 เพื่อคัดกรองภาวะโลหิตจางในเด็กเล็กของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดอบต.กายูบอเกาะ 2 เพื่อติดตาม เฝ้าระวัง ประเมินสุขภาวะเด็กที่มีภาวะโลหิตจาง 3 เพื่อเสริมสร้างพัฒนาการการเติบโตของเด็กให้สมวัย 4 เพื่อให้ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครองและเด็กได้ตระหนักถึงความสำคัญของการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย ตัวชี้วัด : 1.จำนวนเด็กที่ได้รับการตรวจค้ดกรองภาวะโลหิตจางและส่งต่อเพื่อการรักษา |
100.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 98 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 94 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 4 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อคัดกรองภาวะโลหิตจางในเด็กเล็กของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดอบต.กายูบอเกาะ 2 เพื่อติดตาม เฝ้าระวัง ประเมินสุขภาวะเด็กที่มีภาวะโลหิตจาง 3 เพื่อเสริมสร้างพัฒนาการการเติบโตของเด็กให้สมวัย 4 เพื่อให้ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครองและเด็กได้ตระหนักถึงความสำคัญของการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ตรวจคัดกรองโลหิตจางในเด็ก (2) อบรมให้ความรู้ (3) อบรมให้ความรู้โรคโลหิตจาง (4) ตรวจคัดกรองโลหิตจางในเด็ก
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการป้องกันและแก้ไขโรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในเด็ก จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 66-L4153-1-08
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายมะรูดิง หมานสนิท )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......