กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะดาวา


“ โครงการส่งเสริมการดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ลดภาวะแทรกซ้อน สู่การสร้างสุข ของผู้ป่วยและครอบครัวอย่างยั่งยืน ”

ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายแวนารง แปเฮาะอีเล.

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ลดภาวะแทรกซ้อน สู่การสร้างสุข ของผู้ป่วยและครอบครัวอย่างยั่งยืน

ที่อยู่ ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ L3035-66-02-001 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ลดภาวะแทรกซ้อน สู่การสร้างสุข ของผู้ป่วยและครอบครัวอย่างยั่งยืน จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะดาวา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ลดภาวะแทรกซ้อน สู่การสร้างสุข ของผู้ป่วยและครอบครัวอย่างยั่งยืน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ลดภาวะแทรกซ้อน สู่การสร้างสุข ของผู้ป่วยและครอบครัวอย่างยั่งยืน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ L3035-66-02-001 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะดาวา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันประเทศไทยมีจำนวนผู้สูงอายุ 12,116,199 คน คิดเป็น18.3% (ข้อมูลเมื่อวันที่31มกราคม 2565 จากกรมกิจการผู้สูงอายุ) ผู้สูงอายุในไม่ช้าก็จะเป็นสังคมผู้สูงอายุแบบเต็มรูปแบบ และส่วนใหญ่ของผู้สูงอายุจะเป็นผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เช่น ความดัน เบาหวาน ไต หลอดเลือดหัวใจ หลอดเลือดสมอง สมองเสื่อม อัลไซเมอร์ เป็นต้น และส่วนหนึ่งจะมีความพิการภาวะแทรกของโรคดังกล่าว
    ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี มีจำนวนประชากรทั้งหมด 9,013 คน โดยในปี พ.ศ. 2565 มีผู้สูงอายุในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะดาวา จำนวน 754 คน พบว่าผู้ป่วยติดบ้าน 61 คน ติดเตียง 5 คน ได้แก่ โรคหลอดเลือดสมอง โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โรคไต โรคถุงลมโป่งพองและโรคความดันโลหิตสูง โรคทางระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ เช่น กระดูกหักหรือร้าว หมอนรองกระดูกทับเส้นประสาทและข้อเข่าเสื่อม พิการตั้งแต่กำเนิดการบาดเจ็บไขสันหลังและปัญหาการบาดเจ็บอื่นๆ จากอุบัติเหตุ ซึ่งผู้ป่วยบางรายอาจมีภาวะแทรกซ้อนจากโรคหรืออาการดังกล่าวทำให้เป็นอุปสรรคต่อการฟื้นตัวและการดูแลรักษา เช่น ข้อต่อติดแข็ง กล้ามเนื้อฝ่อลีบและแผลกดทับ เป็นต้น โรค อาการและภาวะแทรกซ้อนเหล่านี้ส่งผลให้ผู้ป่วยมีปัญหาในเรื่องกล้ามเนื้ออ่อนแรง กล้ามเนื้อฝ่อลีบ ข้อต่อติดแข็ง ความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันลดลง รวมไปถึงปัญหาคุณภาพชีวิตที่ลดลงไปด้วย ปัญหาสำคัญที่พบบ่อยของผู้สูงอายุกลุ่มนี้ ได้แก่ ญาติหรือผู้ดูแลขาดความเข้าใจในเรื่องของการดูแลและฟื้นฟูผู้ป่วย ผู้ป่วยไม่สะดวกไปทำกายภาพบำบัดที่โรงพยาบาลจึงทำให้ผู้ป่วยกลุ่มนี้ขาดการทำกายภาพบำบัดอย่างต่อเนื่องและพบว่าการให้บริการสำหรับผู้สูงอายุส่วนมาก จะเป็นการบริการที่ศูนย์บริการสาธารณสุขมากกว่าการให้บริการที่บ้าน การติดตามเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุที่ติดบ้าน ติดเตียงยังทำได้ไม่ครอบคลุมและขาดความต่อเนื่อง
ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะดาวาและชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการดูแลผู้สูงอายุและคนพิการอย่างเป็นระบบ โดยผู้ดูแลและชุมชนมีส่วนร่วม จึงเล็งเห็นความสำคัญในเรื่องการทำกายภาพบำบัดอย่างต่อเนื่องสำหรับผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง จึงได้ดำเนินโครงการ “ลดการติดเตียง ด้วยโปรแกรมฟื้นฟู สู่การสร้างสุข ของผู้ป่วยและครอบครัวอย่างยั่งยืน” ในเขตพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะดาวา เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจแก่ญาติในการรับโปรแกรมฟื้นฟูผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง เพื่อเพิ่มกำลังกล้ามเนื้อและเพิ่มการทำกิจวัตรประจำวันให้แก่ผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง สู่การสร้างสุข ของผู้ป่วยและครอบครัวอย่างยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างทีมดูแลสุขภาพของผู้ป่วยติดเตียงในชุมชน
  2. เพื่อให้ผู้ป่วยติดบ้าน, ติดเตียง ได้รับการดูแลสุขภาพจากทีมดูแลสุขภาพชุมชนที่ได้รับการฝึกฝนที่ถูกต้องและต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.เกิดทีมดูแลฟื้นฟูสุขภาพชุมชน ทีมดูแลฟื้นฟูสุขภาพชุมชนได้รับการฝึกอบรมโปรแกรมฟื้นฟู 2.ผู้ป่วยติดบ้าน, ติดเตียง ได้รับการดูแลฟื้นฟูสุขภาพด้วยโปรแกรมฟื้นฟูจากทีมดูแลฟื้นฟูสุขภาพชุมชนที่ถูกต้องและต่อเนื่อง มีอัตราผู้ป่วยติดเตียงลดลง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อสร้างทีมดูแลสุขภาพของผู้ป่วยติดเตียงในชุมชน
    ตัวชี้วัด : - เกิดทีมดูแลสุขภาพชุมชน จำนวน 40 คน - ร้อยละ 100 ของทีมดูแลสุขภาพชุมชนได้รับการฝึกอบรมโปรแกรมฟื้นฟูจากผู้เชียวชาญ
    40.00

     

    2 เพื่อให้ผู้ป่วยติดบ้าน, ติดเตียง ได้รับการดูแลสุขภาพจากทีมดูแลสุขภาพชุมชนที่ได้รับการฝึกฝนที่ถูกต้องและต่อเนื่อง
    ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 100 ของผู้ป่วยติดบ้าน,ติดเตียง ได้รับดูแลสุขภาพจากทีมดูแลสุขภาพที่ได้รับการฝึกฝนที่ถูกต้องและต่อเนื่อง - ร้อยละ 100 ของผู้ป่วยติดบ้าน,ติดเตียงได้รับการเยี่ยมจากทีมดูแลสุขภาพชุมชน
    58.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างทีมดูแลสุขภาพของผู้ป่วยติดเตียงในชุมชน (2) เพื่อให้ผู้ป่วยติดบ้าน, ติดเตียง ได้รับการดูแลสุขภาพจากทีมดูแลสุขภาพชุมชนที่ได้รับการฝึกฝนที่ถูกต้องและต่อเนื่อง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมการดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ลดภาวะแทรกซ้อน สู่การสร้างสุข ของผู้ป่วยและครอบครัวอย่างยั่งยืน จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ L3035-66-02-001

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายแวนารง แปเฮาะอีเล. )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด