กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี


“ โครงการรู้เท่าทัน รู้ป้องกัน หลอดเลือดสมอง ในเขตตำบลอาเนาะรูและตำบลสะบารัง ปีงบประมาณ 2566 (ประเภทที่1) ”

้เขตตำบลอาเนาะรูตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอารดา เจะสอเหาะ

ชื่อโครงการ โครงการรู้เท่าทัน รู้ป้องกัน หลอดเลือดสมอง ในเขตตำบลอาเนาะรูและตำบลสะบารัง ปีงบประมาณ 2566 (ประเภทที่1)

ที่อยู่ ้เขตตำบลอาเนาะรูตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L7884-1-09 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 31 ธันวาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรู้เท่าทัน รู้ป้องกัน หลอดเลือดสมอง ในเขตตำบลอาเนาะรูและตำบลสะบารัง ปีงบประมาณ 2566 (ประเภทที่1) จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ้เขตตำบลอาเนาะรูตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรู้เท่าทัน รู้ป้องกัน หลอดเลือดสมอง ในเขตตำบลอาเนาะรูและตำบลสะบารัง ปีงบประมาณ 2566 (ประเภทที่1)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรู้เท่าทัน รู้ป้องกัน หลอดเลือดสมอง ในเขตตำบลอาเนาะรูและตำบลสะบารัง ปีงบประมาณ 2566 (ประเภทที่1) " ดำเนินการในพื้นที่ ้เขตตำบลอาเนาะรูตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 66-L7884-1-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2566 - 31 ธันวาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 166,541.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หน่วยบริการปฐมภูมิ กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลปัตตานี ทำหน้าที่เป็นหน่วยบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ บริการส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรค ฟื้นฟูสุขภาพ และให้บริการรักษาโรคเบื้องต้นในเขตพื้นที่ ตำบลอาเนาะรู และตำบลสะบารัง อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี ในปี 2564 จำนวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนของตำบลอาเนาะรูและตำบลสะบารัง 996, 1,721 ราย ตามลำดับ พบว่าจำนวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่สามารถคุมระดับความดันโลหิตได้ดีของตำบลอาเนาะรู และตำบลสะบารัง คิดเป็นร้อยละ 37.05, 31.84 ตามลำดับ และจำนวนผู้ป่วยเบาหวานที่ขึ้นทะเบียนของตำบลอาเนาะรู และตำบลสะบารัง 439, 833 ราย ตามลำดับ พบว่าจำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานที่สามารถคุมระดับความดันโลหิตได้ดีของตำบลอาเนาะรู และตำบลสะบารัง คิดเป็นร้อยละ 27.56, 22.81 ตามลำดับ และผลการคัดกรองเพื่อประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมองในกลุ่มเสี่ยงของศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองโรงพยาบาลปัตตานี ตำบลอาเนาะรู และตำบลสะบารัง ปี 2564 โดยใช้แนวทางการประเมินของสำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ในกลุ่มประชากรเป้าหมายผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง พบว่ามีผู้ที่มีโอกาสเสี่ยงที่จะเป็นโรคอัมพฤกษ์ อัมพาตใน 10 ปีข้างหน้าอยู่ในระดับความเสี่ยงต่ำ จำนวน 204, 302 ราย  คิดเป็นร้อยละ 84.65, 87.03 ตามลำดับ ระดับความเสี่ยงปานกลาง จำนวน 34, 40 ราย คิดเป็นร้อยละ 14.11, 11.53 ตามลำดับ ระดับความเสี่ยงสูง จำนวน 3, 5 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.24, 1.44 ตามลำดับ (HDC : สาธารณสุขจังหวัดปัตตานี) สถานการณ์ดังกล่าวแสดงให้เห็นโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke) หรือโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต เป็นโรคทางระบบประสาทที่พบบ่อยและเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญซึ่งประเทศไทยคาดว่ามีผู้ป่วยรายใหม่เพิ่มมากขึ้น ในแต่ละปีโรคหัวใจและหลอดเลือดเกี่ยวข้องกับปัจจัยหลายประการได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุ เพศ และปัจจัยด้านพฤติกรรม เช่น การออกกำลังกาย อาหาร การสูบบุหรี่ ดื่มสุรา และปัจจัยทางกายภาพ เช่น ความดันโลหิต ระดับไขมันในเลือด และเบาหวาน ปัจจัยเหล่านี้ล้วนเป็นความเสี่ยงของแต่ละบุคคลในการนำไปสู่โรคหัวใจและหลอดเลือด ในระดับที่แตกต่างกัน ซึ่งบุคคลที่มีหลายปัจจัยร่วมกันจะมีโอกาสเสี่ยงต่อโรคมากขึ้น การเจ็บป่วยฉุกเฉินเป็นภาวะที่เกิดขึ้นโดยไม่ได้คาดการณ์ล่วงหน้าและเป็นภาวะวิกฤตของแต่ละบุคคล หากไม่ได้รับการแก้ไขอย่างทันท่วงทีและเหมาะสมอาจเกิดการสูญเสียชีวิต รวมทั้งเกิดความบกพร่องในการทำงานของอวัยวะที่สำคัญ ก่อให้เกิดการบาดเจ็บหรือฉุกเฉินที่เป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับหนึ่ง ได้แก่กลุ่มโรคระบบหัวใจและหลอดเลือดซึ่งกลุ่มโรคดังกล่าวมีแนวโน้มสูงขึ้นเมื่อพิจารณาเป็นรายโรคและพบว่าสาเหตุการเสียชีวิตมากที่สุดทั้งในเพศชายและเพศหญิงคือโรคหลอดเลือดสมองการป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ที่จะก่อให้เกิดโรคหลอดเลือดสมอง จึงมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง ดังนั้นการส่งเสริมให้ผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมโรคได้ และมีความรู้ ความตระหนักในการดูแลสุขภาพ รวมทั้งมีทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม จึงมีความสำคัญมาก ดังนั้นทางกลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลปัตตานีจึงจัดโครงการ รู้ทัน รู้เร็ว ลดความเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง 2 ตำบลในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ปีงบประมาณ 2566 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. วัตถุประสงค์ 1.เพื่อพัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างองค์ความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจแก่กลุ่มเป้าหมาย (อสม.ผู้นำชุมชน) เป้าหมาย ทั้งหมด 2 โซน (ศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองและศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองปากน้ำ โรงพยาบาลปัตตานี) จำนวน 550 ราย ประกอบด้วย ผู้ป่วย CVD risk ระดับความเสี่ยงต่ำ ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง จำนวน 220 ราย ศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองปากน้ำจำนวน 330 ราย 2. เพื่อให้ผู้ป่วยกลุ่มเป้าหมายเสี่ยงปานกลาง และเสี่ยงสูงที่จะเกิดโรคหลอดเลือดสมอง ได้รับการเยี่ยมบ้าน เป้าหมาย ทั้งหมด 2 โซน (ศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองและศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองปากน้ำ โรงพยาบาลปัตตานี) ประกอบด้วย ผู้ป่วย CVD risk ระดับความเสี่ยงปานกลาง ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง จำนวน 25 ราย ศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองปากน้ำจำนวน 45 ราย ๓.เพื่อประชาสัมพันธ์การรู้เท่าทันการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองและหลอดหัวใจแก่ประชาชนในเขตรับผิดชอบ เป้าหมาย ทั้งหมด 2 โซน (ศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองและศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองปากน้ำ โรงพยาบาลปัตตานี) ประกอบด้วย ผู้ป่วย CVD risk ระดับความเสี่ยงสูง ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง จำนวน 5 ราย ศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองปากน้ำจำนวน 5 ราย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    . ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. กลุ่มเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมองทุกระดับ มีความรู้ สามารถคัดกรองและเฝ้าระวังความเสี่ยง ภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงได้ 2. กลุ่มเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมอง กลุ่มเสี่ยงปานกลางและสูง มีความรู้ ทักษะ ทัศนคติและมีพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสมในการป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง 3. กลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง กลุ่มเสี่ยงปานกลางและสูง เข้าร่วมกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลตัวเองเรื่องการจัดการอาหาร พฤติกรรมและการควบคุมโรคเพื่อไม่ให้เกิดโรคหลอดเลือดสมองได้


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 วัตถุประสงค์ 1.เพื่อพัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างองค์ความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจแก่กลุ่มเป้าหมาย (อสม.ผู้นำชุมชน) เป้าหมาย ทั้งหมด 2 โซน (ศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองและศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองปากน้ำ โรงพยาบาลปัตตานี) จำนวน 550 ราย ประกอบด้วย ผู้ป่วย CVD risk ระดับความเสี่ยงต่ำ ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง จำนวน 220 ราย ศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองปากน้ำจำนวน 330 ราย 2. เพื่อให้ผู้ป่วยกลุ่มเป้าหมายเสี่ยงปานกลาง และเสี่ยงสูงที่จะเกิดโรคหลอดเลือดสมอง ได้รับการเยี่ยมบ้าน เป้าหมาย ทั้งหมด 2 โซน (ศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองและศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองปากน้ำ โรงพยาบาลปัตตานี) ประกอบด้วย ผู้ป่วย CVD risk ระดับความเสี่ยงปานกลาง ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง จำนวน 25 ราย ศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองปากน้ำจำนวน 45 ราย ๓.เพื่อประชาสัมพันธ์การรู้เท่าทันการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองและหลอดหัวใจแก่ประชาชนในเขตรับผิดชอบ เป้าหมาย ทั้งหมด 2 โซน (ศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองและศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองปากน้ำ โรงพยาบาลปัตตานี) ประกอบด้วย ผู้ป่วย CVD risk ระดับความเสี่ยงสูง ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง จำนวน 5 ราย ศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองปากน้ำจำนวน 5 ราย
    ตัวชี้วัด : ๑.ร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมายได้รับการพัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างองค์ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมอง 2. ร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมายเสี่ยงปานกลาง และเสี่ยงสูงที่จะเกิดโรคหลอดเลือดสมองได้รับการเยี่ยมบ้าน 3. ร้อยละ 100 ของพื้นที่มีป้ายประชาสัมพันธ์ และแผ่นพับให้ความรู้แก่ประชาชนในเขตรับผิดชอบ

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์ 1.เพื่อพัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างองค์ความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจแก่กลุ่มเป้าหมาย (อสม.ผู้นำชุมชน) เป้าหมาย ทั้งหมด 2 โซน (ศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองและศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองปากน้ำ โรงพยาบาลปัตตานี) จำนวน 550 ราย ประกอบด้วย ผู้ป่วย CVD risk ระดับความเสี่ยงต่ำ ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง จำนวน 220 ราย ศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองปากน้ำจำนวน 330 ราย 2. เพื่อให้ผู้ป่วยกลุ่มเป้าหมายเสี่ยงปานกลาง และเสี่ยงสูงที่จะเกิดโรคหลอดเลือดสมอง ได้รับการเยี่ยมบ้าน เป้าหมาย ทั้งหมด 2 โซน (ศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองและศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองปากน้ำ โรงพยาบาลปัตตานี) ประกอบด้วย ผู้ป่วย CVD risk ระดับความเสี่ยงปานกลาง ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง จำนวน 25 ราย ศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองปากน้ำจำนวน 45 ราย ๓.เพื่อประชาสัมพันธ์การรู้เท่าทันการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองและหลอดหัวใจแก่ประชาชนในเขตรับผิดชอบ เป้าหมาย ทั้งหมด 2 โซน (ศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองและศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองปากน้ำ โรงพยาบาลปัตตานี) ประกอบด้วย ผู้ป่วย CVD risk ระดับความเสี่ยงสูง ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง จำนวน 5 ราย ศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองปากน้ำจำนวน 5 ราย

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการรู้เท่าทัน รู้ป้องกัน หลอดเลือดสมอง ในเขตตำบลอาเนาะรูและตำบลสะบารัง ปีงบประมาณ 2566 (ประเภทที่1) จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 66-L7884-1-09

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวอารดา เจะสอเหาะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด