กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลาเส


“ โครงการตรวจคัดกรองความเสี่ยงสุขภาพประชาชนจากภัยสารเคมีกำจัดศัตรูพืช ”

ตำบลกะลาเส อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางเพ็ญศรี บัวขำ

ชื่อโครงการ โครงการตรวจคัดกรองความเสี่ยงสุขภาพประชาชนจากภัยสารเคมีกำจัดศัตรูพืช

ที่อยู่ ตำบลกะลาเส อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-L1521-01-10 เลขที่ข้อตกลง .........../2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 พฤษภาคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการตรวจคัดกรองความเสี่ยงสุขภาพประชาชนจากภัยสารเคมีกำจัดศัตรูพืช จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะลาเส อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลาเส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจคัดกรองความเสี่ยงสุขภาพประชาชนจากภัยสารเคมีกำจัดศัตรูพืช



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการตรวจคัดกรองความเสี่ยงสุขภาพประชาชนจากภัยสารเคมีกำจัดศัตรูพืช " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกะลาเส อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 66-L1521-01-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 พฤษภาคม 2566 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,258.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลาเส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สารเคมีกำจัดศัตรูพืช สามารถทำอันตรายต่อสุขภาพร่างกายได้ทั้ง มนุษย์ และสัตว์ กล่าวคือจะไปทำลายอวัยวะภายในร่างกาย เช่น ตับ ไต ปอด สมอง ผิวหนัง ระบบประสาท ระบบสืบพันธุ์ และตา ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับว่าเราจะรับสารเคมีเข้าสู่ร่างกายทางใด และปริมาณมากน้อยเท่าใด ส่วนใหญ่แล้วการที่อวัยวะภายในร่างกายได้สะสมสารเคมีไว้จนถึงขีดที่ร่างกายไม่อาจทนได้ จึงแสดงอาการต่าง ๆ ขึ้นมา เช่น โรคมะเร็ง โรคต่อมไร้ท่อ โรคเลือดและระบบภูมิคุ้มกัน เป็นต้น จากสถานการณ์ประชาชนตำบลกะลาเส ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม และยังพบว่าเกษตรกรมีการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช เนื่องจากรูปแบบการเกษตรเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม จากการเกษตรทำเพื่อการบริโภคมาเป็นการเกษตรเศรษฐกิจ เกษตรกรต้องการเพิ่มผลผลิตและรักษาคุณภาพของสินค้า สารเคมีกำจัดแมลงศัตรูพืชชนิดออกาโนฟอสและคาร์บาร์เมทได้ถูกนำมาใช้ในแปลงผักและไร่นาของเกษตรกรอย่างแพร่หลาย ประกอบกับการขาดองค์ความรู้ในการใช้สารเคมีส่งผลให้เกิดสารพิษตกค้างในผัก และสะสมใน        ลำห้วย หนอง คลองบึง ฯลฯ การบริโภคผักและใช้แหล่งน้ำที่มีการสะสมสารเคมีกำจัดศัตรูพืช ทำให้ร่างกายที่ได้รับสารพิษมีอาการเฉียบพลัน อาทิ คลื่นไส้ อาเจียน ปวดหัว ปวดกล้ามเนื้อ ท้องร่วง ตาพร่า หายใจติดขัด ฯลฯ    จากการเฝ้าระวังและเก็บข้อมูลผลการตรวจเลือดประชาชนตำบลกะลาเส ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกะลาเส อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง ในปี 2564 และ ๒๕65 พบว่าในปี 2564 พบกลุ่มเสี่ยงและไม่ปลอดภัย คิดเป็นร้อยละ 15.00 และในปี 2565 มีประชาชนกลุ่มที่มีความเสี่ยงและไม่ปลอดภัยคิดเป็นร้อยละ 20.00ซึ่งมีแนวโน้มจะสูงขึ้นจากปีที่แล้วทั้งนี้ผู้ที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงและไม่ปลอดภัยเหล่านี้ ได้รับ          การส่งเสริมการใช้สมุนไพรไทยรางจืดเพื่อส่งเสริมสุขภาพและลดภาวะเสี่ยง ซึ่งจากข้อมูลพบว่าวิธีดังกล่าวได้ผลดี โดยทำให้กลุ่มเสี่ยงกลับไปเป็นกลุ่มปกติ ถึงร้อยละ ๙๓.๕ -๙๕.๐
ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกะลาเส ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาที่เกษตรและประชาชนยังมีการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช และส่งผลกระทบต่อสุขภาพ จึงต้องมีการแก้ไขปัญหาอย่างเร่งด่วน      จึงได้จัดทำโครงการตรวจคัดกรองค้นหาความเสี่ยงสุขภาพประชาชนจากภัยสารเคมีกำจัดศัตรูพืช ขึ้น          เพื่อให้เกษตรกรและประชานชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ ได้รับการตรวจสุขภาพเพื่อสร้างความรู้และความตระหนัก  เรื่องลดการใช้สารเคมีทางการเกษตรให้เกิดความปลอดภัยต่อสุขภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย ได้รับการเจาะเลือดตรวจคัดกรองค้นหาระดับสารเคมีฆ่าแมลงตกค้างในร่างกายโดยวิธี Reactive Paper test 2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบภาวะเสี่ยง ในระดับ มีความเสี่ยงและ ระดับไม่ปลอดภัย ได้รับการส่งเสริมสุขภาพด้วยสมุนไพรไทย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดเตรียมข้อมูล ประสานงานผู้เกี่ยว ๑.จัดทำป้ายสื่อประชาสัมพันธ์ ๒.จัดประชุมให้ความรู้พิษภัยสารเคมี 3.กิจกรรมตรวจคัดกรองตรวจเลือดกลุ่มเป้าหมาย 4.ส่งเสริมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงทุกราย 5.ติดตามและเจาะเลือดซ้ำ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เกษตรกรมีพฤติกรรมการใช้สารเคมีที่ถูกต้องปลอดภัยและมีความตระหนักเรื่องลดการใช้สารเคมีทางการเกษตร

  2. ทำให้เกษตรกรได้ทราบสถานการณ์ความเสี่ยงสุขภาพจากสารเคมีตกค้างในร่างกายเพื่อกำหนดมาตรการส่งเสริมการลดผลกระทบจากโรคที่สืบเนื่องจากพิษสารเคมีกำจัดแมลงและสารเคมีกำจัดวัชพืช ได้อย่างมีประสิทธิภาพ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย ได้รับการเจาะเลือดตรวจคัดกรองค้นหาระดับสารเคมีฆ่าแมลงตกค้างในร่างกายโดยวิธี Reactive Paper test 2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบภาวะเสี่ยง ในระดับ มีความเสี่ยงและ ระดับไม่ปลอดภัย ได้รับการส่งเสริมสุขภาพด้วยสมุนไพรไทย
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย ได้รับการเจาะเลือดตรวจคัดกรองค้นหาระดับสารเคมีฆ่าแมลงตกค้างในร่างกายโดยวิธี  Reactive Paper test  2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบภาวะเสี่ยง ในระดับ มีความเสี่ยงและ ระดับไม่ปลอดภัย  ได้รับการส่งเสริมสุขภาพด้วยสมุนไพรไทย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดเตรียมข้อมูล ประสานงานผู้เกี่ยว ๑.จัดทำป้ายสื่อประชาสัมพันธ์ ๒.จัดประชุมให้ความรู้พิษภัยสารเคมี 3.กิจกรรมตรวจคัดกรองตรวจเลือดกลุ่มเป้าหมาย 4.ส่งเสริมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงทุกราย 5.ติดตามและเจาะเลือดซ้ำ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการตรวจคัดกรองความเสี่ยงสุขภาพประชาชนจากภัยสารเคมีกำจัดศัตรูพืช จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-L1521-01-10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางเพ็ญศรี บัวขำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด