กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ


“ อบรมการทำยาหม่อง และยาดมสมุนไพร เพื่อสุขภาพประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ”

ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางศุภลักษณ์ โต๊ะขุน

ชื่อโครงการ อบรมการทำยาหม่อง และยาดมสมุนไพร เพื่อสุขภาพประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566

ที่อยู่ ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 66-L3333-02-12 เลขที่ข้อตกลง 11/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 พฤษภาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"อบรมการทำยาหม่อง และยาดมสมุนไพร เพื่อสุขภาพประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
อบรมการทำยาหม่อง และยาดมสมุนไพร เพื่อสุขภาพประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566



บทคัดย่อ

โครงการ " อบรมการทำยาหม่อง และยาดมสมุนไพร เพื่อสุขภาพประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 66-L3333-02-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 พฤษภาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยเป็นแหล่งที่มีทรัพยากรด้านการเกษตรและพืชสมุนไพรที่สำคัญหลากหลายชนิด โดยแต่ละชนิดมีคุณสมบัติในการรักษาอาการเจ็บป่วย และยังช่วยบำรุงร่างกายให้สมบูรณ์แข็งแรงได้อีกด้วย ซึ่งตำบลเกาะนางคำก็เป็นพื้นที่หนึ่งที่มีพืชสมุนไพรที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพมากมาย จึงเกิดแนวคิดในการส่งเสริมให้มีการนำสมุนไพรและภูมิปัญญาท้องถิ่นมาพัฒนาให้เกิดประสิทธิภาพมากขึ้น รวมถึงส่งเสริมให้ประชาชนตื่นตัวในการนำสารสกัดจากพืชสมุนไพรมาใช้ประโยชน์อย่างแพร่หลาย อีกทั้งสนับสนุนให้ประชาชนรู้จักการนำสมุนไพรพื้นบ้านมาใช้ในการรักษาอาการเจ็บปวดเบื้องต้นแก่ตนเองและบุคคลในครอบครัวได้ เช่น การทำยาสมุนไพรประเภทสูดดม พิมเสนน้ำ ยาหม่อง น้ำมันเหลืองผลิตภัณฑ์กันยุงหรือใช้เป็นส่วนผสมในการทำผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพในรูปแบบต่างๆ เป็นต้น ซึ่งการใช้สมุนไพรในรูปแบบต่างๆ ทำให้ผู้ใช้ปลอดภัยจากสารพิษตกค้างที่อาจเป็นอัตรายต่อสุขภาพ ส่งผลให้ประชาชนมีสุขภาพที่ดีขึ้นได้ ประหยัดค่าใช้จ่ายในการรักษา รวมถึงมีความรู้ในการใช้สมุนไพรอย่างถูกต้องและเกิดประโยชน์ในการรักษาสุขภาพเบื้องต้นด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนตำบลเกาะนางคำเห็นถึงความสำคัญของพืชสมุนไพร และการนำมาใช้ในชีวิตประจำ จึงได้จัดทำโครงการอบรมการทำยาหม่องและยาดมสมุนไพรเพื่อสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2566 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมโครงการฯ รู้จักการรักษาสุขภาพโดยการใช้สมุนไพรรักษาอาการเบื้องต้นด้วยตนเองได้
  2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมโครงการฯ ตระหนักถึงประโยชน์ของสมุนไพรเพื่อนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเองและผู้อื่น
  3. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการฯ มีความรู้และเกิดทักษะในการแปรรูปสมุนไพรเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพที่ปลอดภัยจากสารเคมี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับสาระน่ารู้ของพืชสมุนไพร
  2. สาธิตและฝึกปฏิบัติการทำยาหม่องและยาดมสมุนไพร
  3. รายงานผลการดำเนินงานให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้าร่วมโครงการฯ รู้ถึงประโยชน์ของพืชสมุนไพรแต่ละชนิดมากขึ้น
  2. ผู้เข้าร่วมโครงการฯ มีความรู้ความเข้าใจในการใช้พืชสมุนไพรในการรักษาสุขภาพของตนเองและผู้อื่น
  3. ผู้เข้าร่วมโครงการฯ สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ในการแปรรูปสมุนไพรเพื่อใช้ในการรักษาสุขภาพเบื้องต้นแก่ผู้อื่นได้
  4. ผู้เข้าร่วมโครงการฯ ได้ใช้ผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพที่ปลอดภัยจากสารเคมี
  5. ประชาชนในพื้นที่นำพืชสมุนไพรมาใช้ในชีวิตประจำวันมากขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. ผู้เข้าร่วมโครงการฯ รู้ถึงประโยชน์ของพืชสมุนไพรแต่ละชนิดมากขึ้น
  2. ผู้เข้าร่วมโครงการฯ มีความรู้ความเข้าใจในการใช้พืชสมุนไพรในการรักษาสุขภาพของตนเองและผู้อื่น
  3. ผู้เข้าร่วมโครงการฯ สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ในการแปรรูปสมุนไพรเพื่อใช้ในการรักษาสุขภาพเบื้องต้นแก่ผู้อื่นได้
  4. ผู้เข้าร่วมโครงการฯ ได้ใช้ผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพที่ปลอดภัยจากสารเคมี
  5. ประชาชนในพื้นที่นำพืชสมุนไพรมาใช้ในชีวิตประจำวันมากขึ้น

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมโครงการฯ รู้จักการรักษาสุขภาพโดยการใช้สมุนไพรรักษาอาการเบื้องต้นด้วยตนเองได้
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการฯ รู้จักใช้สมุนไพรรักษาอาการเจ็บปวดเบื้องต้นได้ ร้อยละ 80
0.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมโครงการฯ ตระหนักถึงประโยชน์ของสมุนไพรเพื่อนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเองและผู้อื่น
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการฯ รู้ถึงประโยชน์ของสมุนไพร และมีการปลูกสมุนไพรไว้ใช้ในครัวเรือน ,ชุมชน เพื่อรักษาอาการเจ็บป่วยหรือเพื่อบำรุงสุขภาพได้ ร้อยละ 80
0.00

 

3 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการฯ มีความรู้และเกิดทักษะในการแปรรูปสมุนไพรเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพที่ปลอดภัยจากสารเคมี
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการฯ มีผลิตภัณฑ์ยาดม ยาหม่องสมุนไพร ไว้ใช้เพื่อบรรเทาอาการเจ็บป่วยของตนเองได้ร้อยละ 90
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมโครงการฯ รู้จักการรักษาสุขภาพโดยการใช้สมุนไพรรักษาอาการเบื้องต้นด้วยตนเองได้ (2) เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมโครงการฯ ตระหนักถึงประโยชน์ของสมุนไพรเพื่อนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเองและผู้อื่น (3) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการฯ มีความรู้และเกิดทักษะในการแปรรูปสมุนไพรเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพที่ปลอดภัยจากสารเคมี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับสาระน่ารู้ของพืชสมุนไพร (2) สาธิตและฝึกปฏิบัติการทำยาหม่องและยาดมสมุนไพร (3) รายงานผลการดำเนินงานให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


อบรมการทำยาหม่อง และยาดมสมุนไพร เพื่อสุขภาพประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 66-L3333-02-12

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางศุภลักษณ์ โต๊ะขุน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด