กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการแรงงานนอกระบบปลอดภัย ภายใต้สภาพแวดล้อมการทำงานที่ดี (ประเภทที่1) ”
ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางน้ำฝน พรหมเลข




ชื่อโครงการ โครงการแรงงานนอกระบบปลอดภัย ภายใต้สภาพแวดล้อมการทำงานที่ดี (ประเภทที่1)

ที่อยู่ ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L7884-1-10 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการแรงงานนอกระบบปลอดภัย ภายใต้สภาพแวดล้อมการทำงานที่ดี (ประเภทที่1) จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการแรงงานนอกระบบปลอดภัย ภายใต้สภาพแวดล้อมการทำงานที่ดี (ประเภทที่1)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการแรงงานนอกระบบปลอดภัย ภายใต้สภาพแวดล้อมการทำงานที่ดี (ประเภทที่1) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 66-L7884-1-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,080.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

แรงงานนอกระบบ หมายถึง ผู้มีงานทำที่ไม่ได้รับความคุ้มครอง หรือไม่มีหลักประกันทางสังคมจากการทำงาน จาการสำรวจแรงงานนอกระบบ (สำนักงานสถิติแห่งชาติ ปี 2565) พบว่าแรงงานนอกระบบประสบปัญหาดังนี้ 1) ปัญหาจากการทำงาน พบว่าเป็นเรื่องค่าตอบแทน งานขาดความต่อเนื่อง 2) ปัญหาจากสภาพแวดล้อมในการทำงาน พบปัญหาเรื่องอิริยาบถในการทำงาน (ไม่ค่อยได้เปลี่ยนลักษณะท่าทางในการทำงานทำให้เกิดการอักเสบและผิดปกติของอวัยวะต่างๆในร่างกาย) มีฝุ่น ละออง ควัน กลิ่น และมีแสงสว่างไม่เพียงพอ 3) ปัญหาจากความไม่ปลอดภัยในการทำงาน พบว่าประสบปัญหาจากสารเคมี เครื่องจักร เครื่องมือ ที่เป็นอันตราย และประสบอันตรายต่อระบบหู ระบบตา แรงงานนอกระบบในจังหวัดปัตตานี (สำนักงานสถิติจังหวัดปัตตานี ปี 2566) พบว่า ผู้มีงานทำทั้งหมด 337,331 คน เป็นแรงงานนอกระบบร้อยละ 43 ประกอบอาชีพด้านการเกษตรและประมง อาชีพพนักงานบริการ อาชีพด้านความสามารถทางฝีมือ เป็นต้น แรงงานนอกระบบในจังหวัดปัตตานีส่วนใหญ่ สำเร็จการศึกษาอยู่ในระดับประถมศึกษา โดยรวมอยู่ในกลุ่มจบการศึกษาระดับต่ำถึงปานกลาง
    จากข้อมูลข้างต้นพบว่ากลุ่มแรงงานนอกระบบประสบปัญหาหลักคือเรื่องอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงาน ซึ่งสาเหตุมาจากสภาพแวดล้อมในการทำงานที่ไม่เหมาะสม ไม่ปลอดภัย และขาดความรู้ ความเข้าใจด้านชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงาน ทางกลุ่มงานอชีวเวชกรรม โรงพยาบาลปัตตานี เล็งเห็นปัญหาและให้ความสำคัญในการเข้าถึงด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงาน จึงจัดอบรมสร้างความรู้ ความเข้าใจด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภันในการทำงาน และการตรวจวัด สำรวจและประเมินสภาพแวดล้อมในการทำงาน ในกลุ่มแรงงานนอกระบบ โดยเลือกกลุ่มวิสาหกิจชุมชน 3 ตำบล (ตำบลอาเนาะรู,ตำบลสะบารังและตำบลจะบังติกอ) อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี เนื่องจากกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ยังขาดการเข้าถึงความรู้ ความเข้าใจด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงาน และด้วยลักษณะงาน มีท่าทางการทำงานซ้ำๆไม่ค่อยได้เปลี่ยนลักษณะท่าทาง และมีการใช้เครื่องจักร เครื่องมือ ที่เป็นอันตราย ทั้งนี้เพื่อให้กลุ่มวิสาหกิจชุมชนทำงานมีสุขภาพดีทั้งร่างกายและจิตใจ ทำงานในสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย ปราศจากโรคและอุบัติเหตุจากการทำงาน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงานให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชน 2.เพื่อสนับสนุนให้กลุ่มวิสาหกิจชุมชนมีการปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อมในการทำงาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.กลุ่มวิสาหกิจชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงานผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ทุกคน 2.กลุ่มวิสาหกิจชุมชนปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อมในการทำงาน ผ่านเกณฑ์ฯ ร้อยละ 60 ทุกวิสาหกิจชุมชน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงานให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชน 2.เพื่อสนับสนุนให้กลุ่มวิสาหกิจชุมชนมีการปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อมในการทำงาน
    ตัวชี้วัด : 1.กลุ่มวิสาหกิจชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงาน 2.กลุ่มวิสาหกิจชุมชนปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อมในการทำงานให้มีความเหมาะสม และปลอดภัย

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงานให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชน 2.เพื่อสนับสนุนให้กลุ่มวิสาหกิจชุมชนมีการปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อมในการทำงาน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการแรงงานนอกระบบปลอดภัย ภายใต้สภาพแวดล้อมการทำงานที่ดี (ประเภทที่1) จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 66-L7884-1-10

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางน้ำฝน พรหมเลข )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด