กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการกายบริหารเพื่อสุขภาพกายสุขภาพจิตที่ดี
รหัสโครงการ 66-L7889-2-06
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านปริกใต้(นำราษฎร์สามัคคี)
วันที่อนุมัติ 18 พฤษภาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 18 พฤษภาคม 2566 - 31 สิงหาคม 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2566
งบประมาณ 25,140.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวอรพินท์ แซ่ลิ่ม ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านปริกใต้ นำราษฎร์สามัคคี
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนบ้านปริกใต้ (นำราษฎร์สามัคคี)
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

ระบุ

กลุ่มวัยทำงาน 12 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

ระบุ

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันสถานการณ์โลกได้เปลี่ยนแปลงไปเกิดโรคอุบัติใหม่เกิดขึ้นมากมาย และเป็นสังคมยุคดิจิตอล พฤติกรรมการเป็นอยู่ของเด็กในสมัยนี้จึงแตกต่างจากสมัยก่อนเป็นอย่างมาก ในสมัยก่อนนั้น เด็กจะมีการละเล่นที่เคลื่อนไหวร่างกาย แต่เด็กสมัยนี้จะจดจ่ออยู่กับหน้าจอโทรศัพท์ มีกิจกรรมการเคลื่อนไหวร่างกายที่น้อยลงมากทำให้สุขภาพกายและสุขภาพจิตของนักเรียนรวมไปถึงครูและบุคลากรทางการศึกษาอ่อนแอ ส่งผลต่อสุขภาพและการศึกษาของนักเรียน จากผลสำรวจ “เด็กไทยในยุค ไทยแลนด์ 4.0” จากสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) โดยสอบถามความคิดจากประชาชนทั่วประเทศ กระจายทุกภูมิภาค ระดับการศึกษา และอาชีพ รวมทั้งสิ้น 1,250 ตัวอย่าง ซึ่งจากการสำรวจ กลุ่มตัวอย่างมีความเห็นต่อ เด็กไทยในยุค ไทยแลนด์ 4.0 ว่ามีความต่างจากเด็กสมัยก่อนหลายข้อ และข้อหนึ่งที่ปฏิเสธไม่ได้ว่าสังคมไทยในปัจจุบันถูกเรียกว่า “สังคมก้มหน้า” เพราะผู้คนสนใจสิ่งที่อยู่ในมือถือมากกว่าจะหันมาคุยกับคนรอบข้าง และเมื่อผู้ใหญ่ยังเป็นเช่นนั้น จึงไม่น่าแปลกใจที่เด็กสมัยนี้จะมีเพื่อนเป็นมือถือ และคอมพิวเตอร์ มากกว่าการทำกิจกรรมทางกายหรือเล่นกับเพื่อน ทำให้เด็กในยุคนี้ขาดปฏิสัมพันธ์กับคนอื่นๆ ซึ่งกลุ่มตัวอย่างมีความเห็นด้วยต่อเรื่องนี้ ร้อยละ 45.56 โรงเรียนบ้านปริกใต้ (นำราษฎร์สามัคคี)มีนักเรียน จำนวน 80 คน มีภาวะอ้วน จำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 11.25ครูและบุคลกรทางการศึกษา จำนวน 12คน มีภาวะอ้วน 4 คนคิดเป็นร้อยละ 33.33.จากปัญหาดังกล่าว โรงเรียนบ้านปริกใต้(นำราษฎร์สามัคคี)ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหานี้ จึงอยากปลูกฝังและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของเด็กนักเรียน รวมทั้งครู และบุคลากรทางการศึกษา ให้หันมาให้ความสำคัญต่อการทำกิจกรรมทางกายหรือการออกกำลังกาย มากกว่าการการเก็บตัวอยู่กับหน้าจอโทรศัพท์ทั้งนี้เพื่อส่งเสริมสุขภาพกาย ลดภาวะอ้วน และส่งเสริมสุขภาพจิตที่ดีของนักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา เกิดการทำกิจกรรมการออกกำลังกายเสริมสร้างภูมิต้านทานต่อโรคต่างๆ ลดความเสี่ยงจากโรคภัยต่างๆจึงได้จัดทำโครงการ“กายบริหารเพื่อสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี”ขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในนักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา

1.เด็กนักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา เข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ 100

0.00
2 เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของเด็กนักเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษาให้มีการทำกิจกรรมทางกาย

1.เด็กนักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีความรู้หลังการอบบรม ร้อยละ 100

2.นักเรียนครูและบุคลากรทางการศึกษากลุ่มอ้วน และกลุ่มเสี่ยงมีค่า BMI ลดลง

3.นักเรียนครูและบุคลากรทางการศึกษากลุ่มปกติมีค่า BMI ไม่เพิ่มขึ้น หรือคงที่

0.00
3 เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันให้ร่างกายปลอดภัยจากโรคภัยไข้เจ็บและอบายมุข

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : เพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในนักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของเด็กนักเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษาให้มีการทำกิจกรรมทางกาย

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 : เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันให้ร่างกายปลอดภัยจากโรคภัยไข้เจ็บและอบายมุข

รวม 0 0.00 0 0.00

ไม่ระบุวัตถุประสงค์

??/??/???? กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องผลดีและผลเสียต่อสุขภาพของการใช้สื่อโซเชียลมีเดีย และกายบริหารเพื่อสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีและประเมินสุขภาพเบื้องต้นก่อนการจัดกิจกรรมออกกำลังกาย 15,340.00 -
??/??/???? กิจกรรมกายบริหาร -กายบริหารทุกเช้า(ทุกวัน) -กายบริหารยามเย็นสัปดาห์ละ3ครั้ง 9,800.00 -
??/??/???? สรุปผลประเมินผล และรายงานผลการดำเนินการ 0.00 -

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.นักเรียนครูและบุคลากรทางการศึกษา มีการวมกลุ่มทำกิจกรรมกรรมด้านสุขภาพร่วมกัน

2.การจัดกิจกรรมการออกกำลังกายสามารถเป็นแบบอย่างให้แก่นักเรียน และชุมชนได้

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 22 พ.ค. 2566 10:09 น.