กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก


“ โครงการส่งเสริมสุขภาวะที่ดีในผู้สูงอายุเทศบาลตำบลปริก ”

เขตพื้นที่เทศบาล ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายชาญณรงค์ เพ็ชรจูด ประธานคณะกรรมการฝ่ายดำเนินงานศูนย์คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ เทศบาลตำบลปริก

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาวะที่ดีในผู้สูงอายุเทศบาลตำบลปริก

ที่อยู่ เขตพื้นที่เทศบาล ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L7889-3-02 เลขที่ข้อตกลง 11/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 8 มิถุนายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาวะที่ดีในผู้สูงอายุเทศบาลตำบลปริก จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เขตพื้นที่เทศบาล ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาวะที่ดีในผู้สูงอายุเทศบาลตำบลปริก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาวะที่ดีในผู้สูงอายุเทศบาลตำบลปริก " ดำเนินการในพื้นที่ เขตพื้นที่เทศบาล ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 66-L7889-3-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 8 มิถุนายน 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 98,600.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ผู้สูงอายุถือว่าเป็นปูชนียบุคคลของสังคมที่มีคุณค่ายิ่งเนื่องจากผ่านประสบการณ์มามาก ได้เคยเป็นกำลังสำคัญของสังคมมาก่อน อีกทั้งยังเป็นผู้มีความรู้ มีทักษะ อนุรักษ์และสืบทอดประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น วิถีชีวิตดั้งเดิม และได้ทำคุณประโยชน์แก่สังคมมาแล้วมากมาย ซึ่งจำเป็นอย่างยิ่งที่คนรุ่นหลังจะต้องให้ความสำคัญในการยกย่องให้การดูแลผู้สูงอายุเหล่านี้ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีสุขภาพจิต สุขภาพกายที่ดี เป็นการเชิดชูเกียรติให้ผู้สูงอายุสามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคม อย่างมีความสุข ทั้งนี้ ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการเทศบาลตำบลปริก ได้ดำเนินการบริหารจัดการศูนย์ฯ มาตั้งแต่ปี 2560 จนถึงปัจจุบัน พบว่า เทศบาลตำบลปริกมีจำนวนประชากรผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นทุกปี ข้อมูล ณ วันที่ 8 มีนาคม 2566 มีผู้สูงอายุ 1,029 คน จากประชากรทั้งหมด 6,404 คน คิดเป็นร้อยละ 16.07 ของประชากรทั้งหมด และมีผู้พิการ 159 คน จากประชากรทั้งหมด 6,404 คนคิดเป็นร้อยละ 2.48 ของประชากรทั้งหมด มีผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง จำนวน 2๓ คน ประกอบกับเมื่อห้วงเดือนพฤศจิกายน ๒๕๖๕ ที่ผ่านมา ได้มีการจัดเวทีประชาคมเพื่อค้นหาปัญหาและความต้องการของผู้สูงอายุ เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของกลุ่มผู้สูงอายุเอง เวทีประชาคมได้เสนอโครงการต่างๆ ที่เป็นประโยชน์เพื่อการดูแล ป้องกัน ฟื้นฟูสุขภาพของผู้สูงอายุหลากหลายกิจกรรม กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ได้จัดทำแผนส่งเสริมสุขภาพดี ชะลอชรา ชีวายืนยาว (wellness Plan)เพื่อเป็นเครื่องมือในการสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ แก่ผู้สูงอายุและคนทุกกลุ่มวัย เพื่อให้ผู้สูงอายุและบุคคลทุกกลุ่มวัย ได้เข้าถึง ทำความเข้าใจข้อมูลสุขภาพ กลั่นกรอง ประเมิน และตัดสินใจ เพื่อการนำข้อมูลไปใช้ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เลือกใช้บริการและผลิตภัณฑ์สุขภาพได้อย่างเหมาะสม โดยได้กำหนดแผนส่งเสริมสุขภาพดี ชะลอชรา ชีวายืนยาว รายบุคคลไว้ 6 ประเด็น ได้แก่ ด้านโภชนาการ ด้านการเคลื่อนไหว ด้านสุขภาพช่องปาก ด้านสมองและการนอนหลับ ด้านความสุข (ภาวะซึมเศร้า) และสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุ ในการนี้ เพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพที่ดีให้แก่ผู้สูงอายุ รวมทั้งผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการเทศบาลตำบลปริก จึงกำหนดจัดโครงการส่งเสริมสุขภาวะที่ดีในผู้สูงอายุ เทศบาลตำบลปริก ปีงบประมาณ 2566 โดยนำแนวทางของแผนส่งเสริมสุขภาพดี ชะลอชรา ชีวายืนยาว (wellness Plan) มาปรับใช้ และนำร่องในกลุ่มแกนนำผู้สูงอายุ เพื่อให้เกิดผู้สูงอายุตัวอย่าง ที่นำไปสู่การขยายผล แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในการดูแลสุขภาพที่เหมาะสมให้แก่ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลตำบลปริก ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพที่ดี ลดภาวะแทรกซ้อนจากการเกิดโรคต่างๆ และมีสุขภาพกายและจิตที่ดีอย่างต่อเนื่องและยั่งยืนตลอดไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตและการจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตของผู้สูงอายุ
  2. เพื่อส่งเสริมการพัฒนาตนเอง การดูแล คุ้มครอง และพิทักษ์สิทธิผู้สูงอายุ
  3. เพื่อเสริมสร้างสุขภาพที่ดีของผู้สูงอายุ ทั้งด้านร่างกายและจิตใจ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. พัฒนาศักยภาพแกนนำผู้สูงอายุ ในการดูแลสุขภาพ ตามแผนส่งเสริมสุขภาพดี ชะลอชรา (wellness Plan)
  2. ด้านโภชนาการ “กินอย่างรู้ค่า นำพาสุขภาพดี”
  3. ด้านการเคลื่อนไหว "ขยับกายสบายชีวี"
  4. ด้านความสุข"สุขภาพจิตที่ดีชีวีมีสุข"
  5. สรุปจัดทำรูปเล่มและรายงานผล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 370
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 100
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้สูงอายุได้รับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม

2.ผู้สูงอายุมีสุขภาพดีทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตและการจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตของผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุกลุ่มเป้าหมาย เข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 90
0.00

 

2 เพื่อส่งเสริมการพัฒนาตนเอง การดูแล คุ้มครอง และพิทักษ์สิทธิผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อเสริมสร้างสุขภาพที่ดีของผู้สูงอายุ ทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
ตัวชี้วัด : 1.ผู้สูงอายุได้รับการดูแลสุขภาพครอบคลุมทั้ง 6 ด้านโครงการ ร้อยละ 100 2.ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมการกินที่เหมาะสม มีกิจกรรมทางกายอย่างต่อเนื่อง และมีสุขภาพจิตที่ดี ไม่มีภาวะซึมเศร้า 3.มีแกนนำผู้สูงอายุในชุมชนทำกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและผู้สูงอายุสุขภาพดีตัวอย่างในชุมชน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 470
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 370
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 100
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตและการจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตของผู้สูงอายุ (2) เพื่อส่งเสริมการพัฒนาตนเอง การดูแล คุ้มครอง และพิทักษ์สิทธิผู้สูงอายุ (3) เพื่อเสริมสร้างสุขภาพที่ดีของผู้สูงอายุ  ทั้งด้านร่างกายและจิตใจ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) พัฒนาศักยภาพแกนนำผู้สูงอายุ ในการดูแลสุขภาพ ตามแผนส่งเสริมสุขภาพดี ชะลอชรา (wellness Plan) (2) ด้านโภชนาการ “กินอย่างรู้ค่า นำพาสุขภาพดี” (3) ด้านการเคลื่อนไหว "ขยับกายสบายชีวี" (4) ด้านความสุข"สุขภาพจิตที่ดีชีวีมีสุข" (5) สรุปจัดทำรูปเล่มและรายงานผล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาวะที่ดีในผู้สูงอายุเทศบาลตำบลปริก จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L7889-3-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายชาญณรงค์ เพ็ชรจูด ประธานคณะกรรมการฝ่ายดำเนินงานศูนย์คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ เทศบาลตำบลปริก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด