กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต


“ โครงการ หนูน้อยสุขภาพดีตำบลบาโงสะโต ”

ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรจีฮาน มะเจ๊ะเงาะ

ชื่อโครงการ โครงการ หนูน้อยสุขภาพดีตำบลบาโงสะโต

ที่อยู่ ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L8423-01-09 เลขที่ข้อตกลง 20/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2566 ถึง 31 กรกฎาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ หนูน้อยสุขภาพดีตำบลบาโงสะโต จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ หนูน้อยสุขภาพดีตำบลบาโงสะโต



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ หนูน้อยสุขภาพดีตำบลบาโงสะโต " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L8423-01-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2566 - 31 กรกฎาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,220.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าและเป็นรากฐานที่สำคัญต่อการพัฒนาประเทศ การส่งเสริมสุขภาพเป็นประเด็นหลักในการพัฒนาเด็กเล็ก การรับบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคซึ่งเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของเด็กไทยอายุ 0-5 ปีทุกคนที่ต้องได้รับวัคซีนให้ครบทุกชนิดตามกำหนดของกระทรวงสาธารณสุข เนื่องจากการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ด้วยวัคซีนแก่เด็กนั้นเป็นพื้นฐานสำคัญในการเสริมสร้างให้เด็กมีร่างกายที่แข็งแรง ปลอดจากโรค ซึ่งส่งผลต่อการพัฒนาด้านความคิดการเรียนรู้ของเด็ก ที่จะเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศชาติต่อไปในอนาคต ฉะนั้นการเร่งรัดติดตามให้ประชากรกลุ่มเป้าหมายทุกคนได้รับการฉีดให้ครอบคลุมกลุ่มประชากรเป้าหมายจึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะต้องดำเนินการ โดยสิ่งสำคัญคือการจัดบริการด้วยความสะดวก ปลอดภัย และต้องให้ครอบคลุมประชากรเป้าหมายในระดับสูงที่สุด เพื่อเกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการป้องกันการเกิดอัตราป่วย อัตราตาย และการระบาดในพื้นที่ด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน นอกจากนี้สถานการณ์ภาวะสุขภาพเด็ก 0-5 ปียังไม่ได้ตามเกณฑ์เป้าหมาย ภาวะโภชนาการของเด็ก มีเด็กผอมและเตี้ย จำนวนไม่น้อย ซึ่งมีสาเหตุมาจากการขาดสารอาหารเรื้อรัง การได้รับโภชนาการที่ไม่เหมาะสมและเพียงพอ ผู้ปกครองไม่มีเวลาเลี้ยงดูบุตร และด้านพัฒนาการพบว่า มีพัฒนาการค่อนข้างล่าช้า จากผลการสำรวจ IQ เด็กชั้นประถมศึกษาพบว่ามี IQ เฉลี่ยแล้วต่ำกว่าเกณฑ์ อีกทั้งยังพบปัญหาฟันผุในเด็ก เนื่องจากมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากที่ไม่เหมาะสม         จากการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาโงสะโต ในช่วงตุลาคม 256๔ – กันยายน 256๕ มีผลการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็กอายุครบ 0-5 ปี ร้อยละ ๖๓.๘๙ ซึ่งไม่ผ่านเกณฑ์ที่กำหนดร้อยละ 90.00 พบว่าผู้ปกครองพาเด็กมารับบริการฉีดวัคซีนล่าช้า เสี่ยงต่อการรับวัคซีนไม่ตรงตามเกณฑ์อายุ มีเด็กน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์พัฒนาการไม่สมวัยและมีปัญหาฟันผุ โดยพบอัตราเด็ก 0-5 ปี มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วนคิดเป็นร้อยละ ๖๕.๙๙ ซึ่งน้อยกว่าเกณฑ์ที่กำหนดคือร้อยละ 70 และอัตราการตรวจพัฒนาการเด็ก 9,18,30,42,๖๐ เดือน พบเด็กมีพัฒนาการสงสัยล่าช้าร้อย ๓๓.๓๓ จึงได้มีการติดตามโดยเครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุขและเจ้าหน้าที่สาธารณสุขประจำโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลอย่างต่อเนื่อง เพื่อการให้บริการมีความครอบคลุมครบถ้วนมากที่สุด จึงต้องมีการประชาสัมพันธ์ถึงผลกระทบ ความรุนแรงของโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน โรคจากภาวะทุพโภชนาการ พัฒนาการล่าช้า และโรคฟันผุอย่างต่อเนื่อง โดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน ภาคีเครือข่ายสุขภาพและผู้ปกครองเด็ก ดังนั้นทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาโงสะโต จึงได้จัดโครงการหนูน้อยสุขภาพดีขึ้น เพื่อแก้ปัญหาสุขภาพและส่งเสริมให้เด็กอายุ 0 - 72 เดือน มีสุขภาพดี รูปร่างสมส่วนและได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคตลอดจนมีพัฒนาการที่ดี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มอัตราความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนครบชุดในเด็ก 0 – 5 ปี
  2. เพื่อเพิ่มอัตราของเด็กอายุ 0-5 ปีมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วนตามวัย
  3. ๓ เพื่อเพิ่มความครอบคลุมของการคัดกรองพัฒนาการในเด็กอายุ 9,18,30,๔๒ และ ๖๐ เดือน
  4. เพื่อให้เด็กอายุต่ำกว่า ๓ ปี ได้รับการตรวจฟันและเคลือบฟลูออไรด์วานิช

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 60
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑.ผู้สูงอายุได้รับความรู้ความเข้าใจและสามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างถูกต้อง ๒.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการดูแลสุขภาพของตนเอง ๓.ผู้สูงอายุได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก และสุขภาพทั่วไปเบื้องต้น ๔.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธี


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อเพิ่มอัตราความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนครบชุดในเด็ก 0 – 5 ปี
    ตัวชี้วัด : ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนในเด็ก 0-5 ปี ครบชุดตามเกณฑ์ ร้อยละ 90

     

    2 เพื่อเพิ่มอัตราของเด็กอายุ 0-5 ปีมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วนตามวัย
    ตัวชี้วัด : อัตราของเด็กอายุ 0-5 ปีมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วนไม่น้อยกว่าร้อยละ 70

     

    3 ๓ เพื่อเพิ่มความครอบคลุมของการคัดกรองพัฒนาการในเด็กอายุ 9,18,30,๔๒ และ ๖๐ เดือน
    ตัวชี้วัด : ความครอบคลุมของการคัดกรองพัฒนาการร้อยละ 95

     

    4 เพื่อให้เด็กอายุต่ำกว่า ๓ ปี ได้รับการตรวจฟันและเคลือบฟลูออไรด์วานิช
    ตัวชี้วัด : เด็กอายุต่ำกว่า ๓ ปี ที่ได้รับการตรวจฟันและเคลือบฟลูออไรด์วานิช ร้อยละ ๖๐

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 60
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มอัตราความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนครบชุดในเด็ก 0 – 5 ปี (2) เพื่อเพิ่มอัตราของเด็กอายุ 0-5 ปีมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วนตามวัย (3) ๓  เพื่อเพิ่มความครอบคลุมของการคัดกรองพัฒนาการในเด็กอายุ 9,18,30,๔๒ และ ๖๐ เดือน (4) เพื่อให้เด็กอายุต่ำกว่า ๓ ปี ได้รับการตรวจฟันและเคลือบฟลูออไรด์วานิช

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการ หนูน้อยสุขภาพดีตำบลบาโงสะโต จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 66-L8423-01-09

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวนูรจีฮาน มะเจ๊ะเงาะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด