กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เกะรอ


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคเรื้อรังในชุมชนตำบลเกะรอ ”

ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนุรไอนี มะแซ

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคเรื้อรังในชุมชนตำบลเกะรอ

ที่อยู่ ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 66-L4156-1-04 เลขที่ข้อตกลง 07/66

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคเรื้อรังในชุมชนตำบลเกะรอ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เกะรอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคเรื้อรังในชุมชนตำบลเกะรอ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคเรื้อรังในชุมชนตำบลเกะรอ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 66-L4156-1-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,600.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เกะรอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การสร้างเสริมสุขภาพและลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคภัยไข้เจ็บและอันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับสุขภาพ        เป็นพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ ที่ทุกคนควรมีการปฏิบัติและปลูกฝังจนเป็นสุขนิสัย เพื่อให้มีสุขภาพสมบูรณ์ แข็งแรง ซึ่งเป็นพื้นฐานสำคัญของการเรียนรู้ การมีความสุข ทั้งร่างกาย จิตใจ สังคม ส่งผลต่อการมีสุขภาพดีอย่างยั่งยืน รวมถึงเป็นกำลังสำคัญของประเทศชาติ สถานการณ์โรคไม่ติดต่อในตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา ในปีงบ 2561 พบว่ามีผู้ป่วยความดันไม่สามารถควบคุม ระดับความดันโลหิตสูงร้อยละ 76.40 และผู้ป่วยเบาหวานไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลร้อยละ 78.00 ในปีงบ 2562 พบว่ามีผู้ป่วยความดันไม่สามารถควบคุม ระดับความดันโลหิตสูงร้อยละ 69.78 และผู้ป่วยเบาหวานไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลร้อยละ 54.14 ในปีงบ 2563 พบว่ามีผู้ป่วยความดันไม่สามารถควบคุม ระดับความดันโลหิตสูงร้อยละ 72.08  และผู้ป่วยเบาหวานไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลร้อยละ 38.04 ในปีงบ 2564 พบว่ามีผู้ป่วยความดันไม่สามารถควบคุม ระดับความดันโลหิตสูงร้อยละ 74.21 และผู้ป่วยเบาหวานไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลร้อยละ 77.93 ในปีงบ 2565 พบว่ามีผู้ป่วยความดันไม่สามารถควบคุม ระดับความดันโลหิตสูงร้อยละ 72.30 และผู้ป่วยเบาหวานไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลร้อยละ 71.74 ซึ่งพบว่ายังไม่สามารถควบคุมได้ดี ในจำนวนผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง พบว่ามีภาวะแทรกซ้อน ดังนี้ 1)โรคไตเสื่อม 2) โรคจอประสาทตา 3) โรคหัวใจหลอดเลือด 4)โรคอัมพฤกษ์  (เส้นเลือดสมองตีบ) เป็นต้น
ดังนั้นการเสริมสร้างสุขภาพที่ดีและสร้างโอกาสสำหรับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสมให้กับประชาชนทุกกลุ่ม จะช่วยทำให้กลุ่มป่วยสามารถดูแลตนเองได้เป็นอย่างดี กลุ่มปกติและกลุ่มเสี่ยงมีความตระหนักและใช้ประสบการณ์ของผู้ป่วยคนอื่นๆในชุมชน เป็นตัวอย่างและปรับใช้ในการดูแลสุขภาพอย่างเหมาะสม ไม่ก่อให้เกิดโรคก่อนวัยอันควร ทั้งนี้การสร้างโอกาสดังกล่าวจึงจำเป็นต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน การใช้แนวทางที่เหมาะสมกับบริบทพื้นที่ โดยเฉพาะการแก้ไขปัญหาสุขภาพที่เกิดขึ้นในชุมชนด้วยตนเอง ซึ่งอาจต้องรณรงค์ให้ประชาชนปฏิบัติตัวให้ถูกต้อง โดยใช้หลัก 3อ2ส เช่น ลดอาหารที่มีรสหวาน มัน เค็ม รับประทานผักผลไม้มากขึ้น ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ หมั่นทำจิตใจให้สงบ ลด ละ เลิกบุหรี่และสุรา รวมถึงการเปิดโอกาสในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ทั้งผู้ป่วย กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มปกติอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดกระบวนการดูแลสุขภาพที่เหมาะสม สอดคล้องกันไปอย่างต่อเนื่อง
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกะรอได้ตระหนักถึงการเปิดโอกาสในการสร้างสุขภาวะของ ประชาชนในทุกกลุ่มเป้าหมาย จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคเรื้อรังในประชาชนตำบลเกะรอโดยมีเป้าหมายที่สำคัญ คือการสร้างสุขภาพที่ดีให้กับประชาชนทุกกลุ่ม เปิดโอกาสแลกเปลี่ยนวิถีด้านสุขภาวะและพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ และปฏิบัติตัวอย่างเหมาะสมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ลดปัญหาค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพในระยะยาวและพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค ส่งผลต่อการมีสุขภาพดีถ้วนหน้าอย่างยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ความรู้เรื่องการควบคุมและป้องกันโรคเรื้อรังแก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่มีอายุมากกว่า 30 ปี
  2. เพื่อให้บริการตรวจคัดกรองโรคเรื้อรังในกลุ่มเป้าหมายที่มีอายุมากกว่า 30 ปี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เรื่องการควบคุมและป้องกันโรคเรื้อรัง
  2. อบรมให้ความเรื่องการควบคุมและป้องกันโรคเรื้อรัง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 136
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนที่มีอายุมากกว่า 30 ปี มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคเรื้อรังเพิ่มขึ้น 2.ประชาชนที่มีอายุมากกว่า 30 ปี ได้ตระหนักถึงภาวะเสี่งต่อการเกิดโรคเรื้อรังมากขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความเรื่องการควบคุมและป้องกันโรคเรื้อรัง

วันที่ 19 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมวางแผนการดำเนินงาน 2. เสนอโครงการขออนุมัติ 3.ดำเนินการตามโครงการ 4. สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนอายุมากกว่า 30 ปี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเรื่้อรังเพิ่มขึ้น และตระหนักถึงภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรัง

 

136 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ความรู้เรื่องการควบคุมและป้องกันโรคเรื้อรังแก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่มีอายุมากกว่า 30 ปี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของประชาชน มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคเรื้อรังเพิ่มขึ้น
100.00 100.00

 

2 เพื่อให้บริการตรวจคัดกรองโรคเรื้อรังในกลุ่มเป้าหมายที่มีอายุมากกว่า 30 ปี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของประชาชน ได้รับการคัดกรองโรคเรื้อรัง
100.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 136 136
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 136 136
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ความรู้เรื่องการควบคุมและป้องกันโรคเรื้อรังแก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่มีอายุมากกว่า 30 ปี (2) เพื่อให้บริการตรวจคัดกรองโรคเรื้อรังในกลุ่มเป้าหมายที่มีอายุมากกว่า 30 ปี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องการควบคุมและป้องกันโรคเรื้อรัง (2) อบรมให้ความเรื่องการควบคุมและป้องกันโรคเรื้อรัง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคเรื้อรังในชุมชนตำบลเกะรอ จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 66-L4156-1-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนุรไอนี มะแซ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด