กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังการป้องกันและควบคุมโรคระบาด
รหัสโครงการ 66-L4156-2-02
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลเกะรอ
วันที่อนุมัติ 16 มีนาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 24,550.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายแวยูนุ๊ หะรง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.535,101.576place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 24 พ.ค. 2566 24 พ.ค. 2566 24,550.00
รวมงบประมาณ 24,550.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 110 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากสถานการณ์ภัยพิบัติและโรคระบาดในปัจจุบัน ทั้งจากภัยธรรมชาติ และภัยที่เกิดขึ้นจากการกระทำของ มนุษย์ที่เกิดขึ้นบ่อย และทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น ได้สร้างความสูญเสียอย่างมหาศาลต่อความปลอดภัยใน การดำรงชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน ซึ่งเป็นผลกระทบโดยตรง ผลกระทบทางอ้อม คือสูญเสียเศรษฐกิจ โดยของประเทศ เนื่องจากต้องนำงบประมาณไปใช้ในการช่วยเหลือ/รักษาพยาบาลผู้ประสบภัย ฟื้นฟูบูรณะ ถนนหนทาง สิ่งปลูกสร้าง และระบบสาธารณูปโภค
ด้วยเหตุนี้ โรงพยาบาลเกะรอ ซึ่งเป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่ด้านหนึ่งในการ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ได้ตระหนักถึงความสำคัญในการจัดการภัยพิบัติเพื่อลดความสูญเสียที่จะ เกิดขึ้น และได้เร่งรัดดำเนินการในการเตรียมความพร้อมให้กับชุมชน โดยมุ่งเน้นให้คนในชุมชน เข้ามามีส่วน ร่วมในการระดมพลังแก้ไขปัญหาการใช้ทรัพยากรภายในชุมชน/หมู่บ้านที่สอดคล้องกับภูมิปัญญาท้องถิ่น และ พัฒนาผู้นำให้มีความรู้ความสามารถในการเตรียมพร้อมป้องกันภัย สามารถช่วยเหลือตนเองและคนในชุมชน/ หมู่บ้านให้มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินก่อนที่หน่วยงานภายนอกจะเข้ามาสนับสนุนช่วยเหลือ และให้ ความรู้เกี่ยวกับภัยต่าง การป้องกันภัยต่างๆ ที่จะเกิดขึ้น โดยเฉพาะอัคคีภัย ซึ่งในปี พ.ศ.2557 เป็นปีแห่งการ รณรงค์ด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาอัคคีภัยของคณะรัฐมนตรี ประกอบกับ พระราชบัญญัติสภาตำบลและ องค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537 มาตรา 66 (4) และพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการ กระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542 มาตรา 16 (29)

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบ

ร้อยละ 90 สามารถแก้ปัญหาสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนได้

90.00
2 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในการควบคุมป้องกันโรคระบาดที่ถูกวิธี และเหมาะสม

ร้อยละ100 ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการควบคุมโรคระบาดที่ถูกวิธีและเหมาะสม

100.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
16 มิ.ย. 66 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการควบคุมโรคระบาด 36 8,100.00 8,100.00
19 มิ.ย. 66 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการควบคุมโรคระบาด 37 8,225.00 8,225.00
20 มิ.ย. 66 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการควบคุมโรคระบาด 37 8,225.00 8,225.00
รวม 110 24,550.00 3 24,550.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. สามารถแก้ปัญหาสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนได้
  2. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการควบคุมโรคระบาดที่ถูกวิธีและเหมาะสม
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 24 พ.ค. 2566 10:31 น.