กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ย่านซื่อ


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของเด็กและเยาวชนตำบลย่านซื่อ ในปีงบประมาณ2566 ”

ตำบลย่านซื่อ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายฮากีม สลีมิน

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของเด็กและเยาวชนตำบลย่านซื่อ ในปีงบประมาณ2566

ที่อยู่ ตำบลย่านซื่อ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 66-L8407-02-06 เลขที่ข้อตกลง 06/66

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2566 ถึง 25 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของเด็กและเยาวชนตำบลย่านซื่อ ในปีงบประมาณ2566 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลย่านซื่อ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ย่านซื่อ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของเด็กและเยาวชนตำบลย่านซื่อ ในปีงบประมาณ2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของเด็กและเยาวชนตำบลย่านซื่อ ในปีงบประมาณ2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลย่านซื่อ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 66-L8407-02-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2566 - 25 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ย่านซื่อ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ยาสูบเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญลำดับต้นของปัญหาสุขภาพของโลกในปัจจุบันเป็นเหตุให้คนตายทั่วโลกปีละ 6 ล้านคนและทำให้เกิดการตายสูงเป็นอันดับที่ 2 รองจากความดันโลหิตสูงทำให้เกิดภาระโรคเป็นอันดับ 4 รองจากเด็กน้ำหนักต่ำกว่ารับในประเทศไทยทำให้เกิดภาระโรคสูงเป็นอันดับ 2 รองจากปัจจัยเสี่ยงจากการดื่มแอลกอฮอล์มีผู้เสียชีวิตเพิ่มขึ้นจาก 45,136 คนต่อปี (2004) เป็น 50,710 คนต่อปี ( 2009) จากโรคที่เนื่องมาจากการสูบบุหรี่เช่นและ สามารถลด ละเลิก บุหรี่ต่อไป สถานการณ์การบริโภคยาสูบของประชากรไทยในปี พ.ศ. 2552-2557 จากสำนักงานสถิติแห่งชาติอัตราสูบบุหรี่มีแนวโน้มลดลงในช่วง 10 ปีแต่เพิ่มขึ้นเล็กน้อยในปี พ.ศ.2554 และกลับลดลงอีกในปี พ.ศ.2556 แล้วมาเพิ่มขึ้นอีกในปี พ.ศ.2557โดยอัตราการสูบบุหรี่ภาพรวม ในปี พ.ศ. 2550,2552, 2554, 2556, 2557 คือร้อยละ 21.2,20.7, 21.4, 19.9,และ 20.7 จำนวนผู้ที่สูบบุหรี่ ปีพ.ศ. 2550, 2552, 2554, 2556 และ 2557 คือ 10.8, 10.9, 11.5, 10.8 และ 11.4 ล้านคนผู้สูบบุหรี่มวนเองลดลงจาก 5.3 ล้านคนเหลือไม่ถึง 4 ล้านคนแต่สูบบุหรี่ซองเพิ่มจาก 6.1 เป็น 6.5 ล้านคน)ส่วนอัตราและจำนวนผู้สูบเยาวชน (15-24 ปี)ในปี 2552, 2554, 2556, 2557คือร้อยละ 15.2,16.6,15.07และ 14.7 (1.67, 1.70, 1.44 และ 1.41 ล้านคน)ในปี 2557 อัตราการสูบบุหรี่ของผู้ชายมากกว่าผู้หญิง 18.4 เท่า (ร้อยละ40.5 และ 2.2 ตามลำดับในขณะที่จังหวัดสตูล อัตราการสูบบุหรี่ในประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไปในปี พ.ศ. 2550, 2554และ 2557ร้อยละ23.32, 24.01 และ 23.2 ส่วนในกลุ่มวัยรุ่นอายุ 15-18 ปีในปี พ.ศ. 2550 และ 2554 ร้อยละ 10.07 และ 9.09 ตามลำดับซึ่งอัตราการสูบบุหรี่ในภาพรวมในเขตสุขภาพที่ 12 ของตำบลย่านซื่อ และบ้านเขาน้อย อัตราการสูบบุหรี่ทั้งในประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป และในกลุ่มวัยรุ่นอายุ 15-18 ปี ยังสูงกว่าในระดับประเทศ เมื่อพิจารณาสถานที่สาธารณะที่พบเห็นการสูบบุหรี่ในตำบลย่านซื่อ ศาสนสถาน ร้อยละ 72.9 สนามกีฬาหมู่บ้าน ร้อยละ 34.9 ถนนสาธารณะร้อยละ 21.8 และร้านน้ำชายามเช้า นอกจากนั้น จากการวิเคราะห์ระบบรายงานระบบติดตามและเฝ้าระวังปัญหายาเสพติด (บสต.1-5)ของจังหวัดสตูล พบว่า การสูบบุหรี่เป็นจุดเริ่มต้นของการนำไปสู่การเสพย์ยาเสพติดประเภทอื่นๆจากสภาพปัญหาดังกล่าวในปี 2559สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสตูลได้ประกาศเป็นนโยบายของจังหวัดในการขับเคลื่อนจังหวัดสตูลปลอดบุหรี่โดยขอความร่วมมือในการขับเคลื่อนจังหวัดปลอดบุหรี่ระหว่างหน่วยงานระดับจังหวัด อำเภอ และตำบล ซึ่งในระยะแรกกำหนดให้ชุมชนต้นแบบปลอดบุหรี่อำเภอละ 1 ชุมชน ศาสนสถาน (วัด มัสยิดและสถาบันศึกษาปอเนาะ) ต้นแบบปลอดบุหรี่ประเภทละ 1 แห่ง/อำเภอสถานศึกษาต้นแบบปลอดบุหรี่อำเภอละ 1 แห่ง สถานที่ราชการต้นแบบปลอดบุหรี่ อำเภอละ 1 แห่ง บุคคลต้นแบบตำบลละ 1 คน นอกจากการสร้างสิ่งแวดล้อมสถานที่สาธารณะปลอดบุหรี่ตามกฎหมายแล้วยังมีการบริการช่วยเลิกบุหรี่ โดยให้โรงพยาบาลทุกแห่งเปิดบริการคลินิกเลิกบุหรี่ (คลินิกฟ้าใส) เพื่อรองรับผู้ที่ต้องการลด ละ เลิกบุหรี่ ชมรมเยาวชนรักษ์เขาน้อย ม.3 ต.ย่านซื่อ ได้เล็งเห็นความสำคัญถึงโทษ พิษภัยของบุหรี่ที่ผลกระทบต่อตนเองและคนรอบข้าง ได้จัดทำโครงการโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของเยาวชนและสร้างพื้นที่ปลอดบุหรี่ในที่สาธารณะ เพื่อให้สัปบุรุษมัสยิดดารุลนาอีม และประชาชนในชุมชนบ้านเขาน้อย มีความรู้ โทษ พิษภัยของบุหรี่ และ สามารถลด ละเลิก บุหรี่และมัสยิดดารุลนาอีม และพื้นที่สาธารณในชุมชนเป็นพื้นที่ปลอดบุหรี่ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดการสูบยาสูบในเด็กและเยาวชนอายุ 15- 25 ปี ในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรม อบรมสัมมนาการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสูบบุหรี่ในพื้นที่สาธารณะ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน 10
กลุ่มผู้สูงอายุ 10
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดการสูบยาสูบในเด็กและเยาวชนอายุ 15- 25 ปี ในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการสูบยาสูบในเด็กและเยาวชนอายุ 15- 25 ปี ในชุมชน
70.00 60.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน 10
กลุ่มผู้สูงอายุ 10
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดการสูบยาสูบในเด็กและเยาวชนอายุ 15- 25 ปี ในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรม อบรมสัมมนาการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสูบบุหรี่ในพื้นที่สาธารณะ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของเด็กและเยาวชนตำบลย่านซื่อ ในปีงบประมาณ2566 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 66-L8407-02-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายฮากีม สลีมิน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด