กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ธารโต


“ โครงการใส่ใจสุขภาพหนูน้อย ”

ตำบลธารโต อำเภอธารโต จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางแวกอลีเยาะ เจ๊ะอุบง

ชื่อโครงการ โครงการใส่ใจสุขภาพหนูน้อย

ที่อยู่ ตำบลธารโต อำเภอธารโต จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 66-L4119-3-2 เลขที่ข้อตกลง 19/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการใส่ใจสุขภาพหนูน้อย จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลธารโต อำเภอธารโต จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ธารโต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการใส่ใจสุขภาพหนูน้อย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการใส่ใจสุขภาพหนูน้อย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลธารโต อำเภอธารโต จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 66-L4119-3-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,670.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ธารโต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๒ ได้กำหนดการจัดการศึกษาต้องยึดหลักการว่านักเรียนทุกคนมีความสามารถในการเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่านักเรียนมีความสำคัญที่สุดในกระบวนการ จัดการศึกษาต้องส่งเสริมสุขภาพและการพัฒนาตามธรรมชาติเเละเต็มตามศักยภาพ เพื่อการดำรงสุขภาพ และการสร้างเสริมสุขภาพเเละการพัฒนาคุณภาพของบุคคลภายในครอบครัว และชุมชนให้ยั่งยืน พืชผักและผลไม้เป็นอาหารที่คนไทยนิยมนำมารับประทานกันมากเนื่องจากคุณค่าทางอาหาร ทั้งวิตามินและเเร่ธาตุต่างๆที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกายสูง แต่ค่านิยมในการบริโภคผักและผลไม้นั้นมักจะเลือกบริโภคผักและผลไม้ที่สวยงามไม่มีร่องรอยการทำลายของหนองและเเมลงศัตรูพืช จึงทำให้เกษตรที่ปลูกผักจะต้องใช้สารเคมีป้องกันและกำจัดแมลงฉีดพ่นในปริมาณที่มาก เพื่อให้ได้ผักที่สวยงามตามความต้องการของตลาดเมือผู้ซื้อนำมาบริโภคแล้วอาจได้รับอันตรายจากสารพิษที่ตกค้างอยู่ในพืชผักและผลไม้นั้นได้ เพื่อเป็นการแก้ปัญหาดังกล่าว ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านปูยุดจึงเล็งเห็นคุณค่าของผักและผลไม้ที่นำมาบริโภคจึงทำแนะนำการปลูกผักและผลไม้ปลอดภัยจากสารพิษ เอาวิธีการป้องกันและกำจัดศัตรูพืชหลายวิธีมาประยุกต์ใช้ร่วมกัน เป็นการทดแทนหรือลดปริมาณการใช้สารเคมีให้น้อยลง เพื่อความปลอดภัยของนักเรียนผูบริโภคและสิ่งแวดล้อม ทางศูนย์พัฒนาบ้านปุยุด ได้เล็งเห็นความสำคัญของหนูน้อยที่มาเรียนและในชุมชนจึงได้จัดหาวิทยากรมาบรรยายให้ความรู้ให้กับชุมชนและผู้ปกครองในการผลิตอาหารให้กับครอบครัวได้เรียนรู้ในการเลือกซื้อพืชผักผลไม้มารับประทาน และได้ช่วยปลูกพืชผักผลไม้ที่มีในชุมชนที่ไม่มีสารพิษมารับประทาน จึงจัดการสาธิตในการประกอบอาหารให้สวยงาม น่ารับประทาน และได้ประโยชน์ต่อสุขภาพ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านปูยุด สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลธารโต ได้ร่วมกับกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลธารโต เพื่อดูแลสุขภาพของหนูน้อยปฐมวัย จึงคิดค้นจัดการส่งเสริมโภชนาการของเด็กให้มีความสมบูรณ์ เพื่อการเจริญเติบโตสมวัยของหนูน้อย มีสุขภาพและอนามัยที่ดี และได้จัดกิจกรรมร่วมกัน โดยสอดแทรกกับการเรียนรู้ เพื่อให้เด็กและผู้ปกครองมีความสนุกสนานพร้อมกับการเรียนรู้ การปฏิบัติตัวในชีวิตประจำวัน เช่น ร่วมกันทำอาหารกลางวัน และสามารถที่จะสร้างเครือข่ายในการดำเนินกิจกรรม เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่หนูน้อยปฐมวัย ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ปกครองรู้จักวิธีเลือกซื้อผักและผลไม้ปลอดสารพิษมาบริโภคประกอบอาหารสวยงามน่ารับประทาน
  2. ส่งเสริมให้นักเรียนผู้ปกครองมีความรู้ ความสามารถ ในการประกอบอาหารหรือผลิตอาหารสำหรับหนูน้อยเเละสามารถเลือกผลไม้ที่มีประโยชน์และมีสุขภาพแข็งเเรง เพื่อส่งเสริมโภชนาการเเละเพิ่มพัฒนาการที่สมวัยครบทั้ง 4 ด้าน
  3. เพื่อลดโอกาสเสี่ยงในเรื่องการขาดสารอาหารในเด็กเล็กและผู้ปกครองสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 51
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.เด็กปฐมวัยได้รับการบริโภคผักและผลไม้ที่ปลอดภัยจากสารพิษได้รับการประเมินโภชนาการ พร้อมพัฒนาการสมวัยคิดเป็นร้อยละ ๙๐ 2.เด็กปฐมวัยสามารถนำไปใช้ในการพัฒนาและใช้ในการดำรงชีวิตต่อไปได้ มีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ คิดเป็นร้อยละ ๘๐ 3. ให้เด็กปฐมมีพัฒนาการที่สมวัยทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ เเละสังคม คิดเป็นร้อยละ๘๕ 4.เด็กปฐมวัยรู้จักและเห็นความสำคัญของพืชผักสวนครัวและผลไม้รวมถึงพัฒนาการที่ล่าช้าให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้มีพัฒนาการสมวัย และได้รับการรักษาที่ถูกต้องในรายที่มีความผิดปกติมาก 5.ผู้ปกครอง และครูดูแลให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมโภชนาการและพัฒนาการเด็กปฐมวัย 6.ผู้ปกครอง นักเรียน และครูดูแลได้เรียนรู้ในเรื่่องโภชนาการเพื่อสุขภาพ 7. นักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ดีและสามารถลดภาวะโภชนาการ การขาดสารอาหารในเด็กนักเรียน 8. ผู้ปกครองสามารถนำความรู้ที่ได้รับในการร่วมกิจกรรมไปปัฏิบัติใช้ในชีวิตประจำวันวันได้อย่างถูกวิธี 9.ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลได้เรียนรู้ในการเลือกซื้ออุปกรณ์ในการปรุงอาหารที่ปลอดภัยจากสารพิษในอาหาร


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ผู้ปกครองรู้จักวิธีเลือกซื้อผักและผลไม้ปลอดสารพิษมาบริโภคประกอบอาหารสวยงามน่ารับประทาน
    ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียนสามารถรับประทานผัก และผลไม้ที่มีประโยชน์ประมาณ 90% ของเด็กนักเรียนทั้งหมด

     

    2 ส่งเสริมให้นักเรียนผู้ปกครองมีความรู้ ความสามารถ ในการประกอบอาหารหรือผลิตอาหารสำหรับหนูน้อยเเละสามารถเลือกผลไม้ที่มีประโยชน์และมีสุขภาพแข็งเเรง เพื่อส่งเสริมโภชนาการเเละเพิ่มพัฒนาการที่สมวัยครบทั้ง 4 ด้าน
    ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียนรู้จักเลือกกินผัก ผลไม้ที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพได้ดียิ่งขึ้น

     

    3 เพื่อลดโอกาสเสี่ยงในเรื่องการขาดสารอาหารในเด็กเล็กและผู้ปกครองสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 51
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 51
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครองรู้จักวิธีเลือกซื้อผักและผลไม้ปลอดสารพิษมาบริโภคประกอบอาหารสวยงามน่ารับประทาน (2) ส่งเสริมให้นักเรียนผู้ปกครองมีความรู้ ความสามารถ ในการประกอบอาหารหรือผลิตอาหารสำหรับหนูน้อยเเละสามารถเลือกผลไม้ที่มีประโยชน์และมีสุขภาพแข็งเเรง เพื่อส่งเสริมโภชนาการเเละเพิ่มพัฒนาการที่สมวัยครบทั้ง 4 ด้าน (3) เพื่อลดโอกาสเสี่ยงในเรื่องการขาดสารอาหารในเด็กเล็กและผู้ปกครองสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการใส่ใจสุขภาพหนูน้อย จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 66-L4119-3-2

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางแวกอลีเยาะ เจ๊ะอุบง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด