กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการเฝ้าระวังการบริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่สะอาด ปลอดภัยปราศจากสารปนเปื้อน โดยภาคีเครือข่ายสุขภาพชุมชนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพรวน ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2566

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหิน


“ โครงการเฝ้าระวังการบริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่สะอาด ปลอดภัยปราศจากสารปนเปื้อน โดยภาคีเครือข่ายสุขภาพชุมชนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพรวน ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2566 ”

ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายพรชัย กลัดเข็มทอง

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังการบริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่สะอาด ปลอดภัยปราศจากสารปนเปื้อน โดยภาคีเครือข่ายสุขภาพชุมชนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพรวน ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2566

ที่อยู่ ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L5240-01-02 เลขที่ข้อตกลง 6/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังการบริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่สะอาด ปลอดภัยปราศจากสารปนเปื้อน โดยภาคีเครือข่ายสุขภาพชุมชนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพรวน ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2566 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังการบริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่สะอาด ปลอดภัยปราศจากสารปนเปื้อน โดยภาคีเครือข่ายสุขภาพชุมชนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพรวน ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังการบริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่สะอาด ปลอดภัยปราศจากสารปนเปื้อน โดยภาคีเครือข่ายสุขภาพชุมชนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพรวน ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 66-L5240-01-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 6,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหิน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค ยังไม่สามารถดำเนินการได้อย่างครอบคลุม ความรู้ไม่เท่าทันรวมถึงไม่เข้มแข็งในการคุ้มครองตนเองของผู้บริโภค ทำให้ผู้บริโภคเกิดความเสี่ยงที่จะได้รับอันตราย จากสถานการณ์ปัญหา ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชนในด้านต่างๆเช่น ปัญหาการบริโภคยาชุด ยาสเตียรอยด์ การบริโภคผลิตภัณฑ์ เสริมอาหารจากการหลงเชื่อโฆษณา การบริโภคอาหารที่มีสารปนเปื้อนอันตราย กลยุทธทางด้านการตลาดผู้ผลิตย่อมต้องการกำไรสูงสุด ภายใต้เทคนิคการส่งเสริมการขายที่หลากหลาย มีการลด แลก แจก แถม อวดอ้าง สรรพคุณเกินความเป็นจริง ดังนั้นการเผยแพร่ความรู้ที่ถูกต้องและจำเป็น เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และบริการสุขภาพต่างๆ มีการจัดกระบวน"เชื่อมโยง"เพื่อให้ภาคีเครือข่ายตลอดจนประชาชนในชุมชนมีความเข้มแข็ง และมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังความเสี่ยงให้กับตนเองครอบครัวไป จนถึง"ชุมชน"ในรูปแบบเครือข่ายองค์กรผู้บริโภคในชุมชน อันเป็นการพัฒนาศักยภาพผู้บริโภคให้เข้มแข็ง และยังพัฒนาผู้ประกอบการและสถานประกอบการให้มีมาตรฐานมากยิ่งขึ้น
จากผลการดำเนินงานด้านคุ้มครองผู้บริโภคของรพ.สต.พรวน ปี2565 พบว่า มีการตรวจน้ำแข็งในแผงจำหน่ายน้ำและน้ำแข็ง 6 ร้านไม่ผ่าน 2 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 33.33 ตรวจร้านขายของขำ 11 ร้าน พบมีการจำหน่าย ยาชุดและยาอันตราย 2 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 18.18 มีการจำหน่ายเครื่องสำอางที่กระทรวงสาธารณสุขประกาศห้ามขาย อีก 1 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 6.25 และจากรง506 ของรพ.สต.พรวนพบอัตราการเกิดโรคอุจจาระร่วงในทุกกลุ่มอายสูงเกินเกณฑ์มาตรฐาน ดังนั้นการเฝ้าระวังให้ประชาชนได้บริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่สะอาด ปลอดภัย และปราศจากสารปนเปื้อน จึงเป็นสิ่งที่สำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพรวน จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังการบริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่สะอาดปลอดภัยและปราศจากสารปนเปื้อนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพรวน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี2565 ขึ้น เพื่อให้ดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคสำเร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค์

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชนมีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง
  2. เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านค้า/แผงลอย ตระหนักเห็นถึงความสำคัญในการเลือกซื้อ/ขายผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดภัยแก่ชุมชน
  3. เพื่อให้แผงจำหน่ายอาหารสดปลอดสารปนเปื้อน 6 ชนิด
  4. เพื่อตรวจหาโคลิฟอร์มแบคทีเรียในโรงเรียน/วัด/สถานบริการ
  5. เพื่อให้ผู้ป่วยเรื้อรัง ปลอดภัยจากการใช้ยาสงสัยปนเปื้อนสเตียรอยด์ และผลิตภัณฑ์ที่ไม่ได้มาตรฐาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ตรวจ SI 2 (โคลิฟอร์มแบคทีเรีย)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 10
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 3
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ร้านชำและแผงลอยขายอาหาร 1
แผงลอยขายอาหาร 12

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ประกอบการด้านอาหาร สถานประกอบการด้านอาหาร ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอย่างต่อเนื่อง 2.ประชาชนเกิดความตระหนัก และเห็นความสำคัญในการปรุงประกอบอาหาร เลือกซื้อ และบริโภคอาหารที่สะอาดและปลอดภัย จนเป็นพฤติกรรมสุขภาพที่ดีอย่างยั่งยืน 3.ประชาชนมีสุขภาพดีขึ้นโรคที่เกิดจากองค์ประกอบด้านการผลิตอาหารและบริโภคอาหารเป็นปัจจัยหลักลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

โครงการเฝ้าระวังการบริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ปลอดภัยและปราศจากสารปนเปื้อนโดยภาคีเครือข่ายสุขภาพชุมชน 1.ตรวจ ติดตาม ดูแลด้านสุขาภิบาลอาหาร/อาหารปลอดภัย/ผลิตภัณฑ์สุขภาพจำนวน 11 แห่ง 2.ตรวจ ติดตาม/โรงเรียน เก็บตัวอย่างน้ำดื่มบริโภค ตรวจเชื้อคลอริฟอร์มแบคทีเรีย จำนวน 10 ตัวอย่าง/น้ำแข็งบริโภค จำนวน 10 ตัวอย่าง 3.สุ่มตรวจผลิตภัณฑ์สุขภาพ/เครื่องสำอางค์ในการปนเปื้อนสารสเตียรอยด์ 4.อบรมให้ความรู้ อย.น้อย 5.ประชาสัมพันธ์ความรู้เรื่องยา และผลิตภัณฑ์สุขภาพ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชนมีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : เกิดเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน และมีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง อย่างน้อย 1 เครือข่าย
1.00 2.00 2.00

 

2 เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านค้า/แผงลอย ตระหนักเห็นถึงความสำคัญในการเลือกซื้อ/ขายผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดภัยแก่ชุมชน
ตัวชี้วัด : สถานที่ประกอบการร้านชำ ได้รับการตรวจติดตามดูแลด้านสุขาภิบาล/ผลิตภัณฑ์สุขภาพ ร้อยละ 100
12.00 12.00 12.00

 

3 เพื่อให้แผงจำหน่ายอาหารสดปลอดสารปนเปื้อน 6 ชนิด
ตัวชี้วัด : แผงจำหน่ายอาหารสดปลอดสารปนเปื้อน 6 ชนิด ร้อยละ 90
90.00 100.00 93.00

 

4 เพื่อตรวจหาโคลิฟอร์มแบคทีเรียในโรงเรียน/วัด/สถานบริการ
ตัวชี้วัด : โรงเรียน/วัด/สถานบริการได้รับการตรวจหาโคลิฟอร์มแบคทีเรีย ร้อยละ 100
3.00 3.00 3.00

 

5 เพื่อให้ผู้ป่วยเรื้อรัง ปลอดภัยจากการใช้ยาสงสัยปนเปื้อนสเตียรอยด์ และผลิตภัณฑ์ที่ไม่ได้มาตรฐาน
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเรื้อรังได้รับการเยี่ยมบ้านและตรวจสอบ การใช้ยาสังสัยปนเปื้อน สเตียรอยด์ และผลิตภัณฑ์ที่ไม่ได้มาตรฐาน
3.00 0.00 3.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 26 26
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 10 10
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 3
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ร้านชำและแผงลอยขายอาหาร 1 1
แผงลอยขายอาหาร 12 11

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชนมีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง (2) เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านค้า/แผงลอย ตระหนักเห็นถึงความสำคัญในการเลือกซื้อ/ขายผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดภัยแก่ชุมชน (3) เพื่อให้แผงจำหน่ายอาหารสดปลอดสารปนเปื้อน 6 ชนิด (4) เพื่อตรวจหาโคลิฟอร์มแบคทีเรียในโรงเรียน/วัด/สถานบริการ (5) เพื่อให้ผู้ป่วยเรื้อรัง ปลอดภัยจากการใช้ยาสงสัยปนเปื้อนสเตียรอยด์ และผลิตภัณฑ์ที่ไม่ได้มาตรฐาน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ตรวจ SI 2 (โคลิฟอร์มแบคทีเรีย)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังการบริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่สะอาด ปลอดภัยปราศจากสารปนเปื้อน โดยภาคีเครือข่ายสุขภาพชุมชนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพรวน ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2566 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L5240-01-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายพรชัย กลัดเข็มทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด