กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหิน


“ โครงการเฝ้าระวังการบริโภคอาหารสะอาด ปลอดภัยจากสารปนเปื้อน และคุ้มครองผู้บริโภค รพ.สต.ท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี2566 ”

ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางจารุพรรณ โปชู

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังการบริโภคอาหารสะอาด ปลอดภัยจากสารปนเปื้อน และคุ้มครองผู้บริโภค รพ.สต.ท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี2566

ที่อยู่ ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L5240-01-03 เลขที่ข้อตกลง 7/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังการบริโภคอาหารสะอาด ปลอดภัยจากสารปนเปื้อน และคุ้มครองผู้บริโภค รพ.สต.ท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี2566 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังการบริโภคอาหารสะอาด ปลอดภัยจากสารปนเปื้อน และคุ้มครองผู้บริโภค รพ.สต.ท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังการบริโภคอาหารสะอาด ปลอดภัยจากสารปนเปื้อน และคุ้มครองผู้บริโภค รพ.สต.ท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 66-L5240-01-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหิน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อาหารเป็นปัจจัย 4 ที่มีความจำเป็นต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์เป็นอย่างยิ่ง การบริโภคอาหารที่สุก สะอาด ถูกต้อง เหมาะสม ทั้งประเภท ปริมาณครบถ้วน 5 หมู่ ช่วยให้ร่างกายเจริญเติบโต ช่วยซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ และยังช่วยสร้างเสริมภูมิคุ้มกันด้วย ในทางกลับกันการบริโภคอาหารที่ไม่สด สะอาด มีสารปนเปื้อนก็จะเป็นอันตรายแก่ผู้บริโภคได้อาหารจะสะอาดหรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบที่สำคัญดังนี้ คือ อาหารหรือวัตถุดิบที่นำมาปรุง สถานที่ผลิตและประกอบการด้านอาหาร เช่น ร้านอาหาร แผงลอย ตลาด แผงขายอาหารสด และโรงครัว และร้านขายของชำ คนจำหน่าย คนปรุง และคนเสิร์ฟอาหาร ตลอดจนคนทำความสะอาดภาชนะ นอกจากนี้ก็ยังมีสิ่งแวดล้อมภายนอก เช่น แหล่งน้ำเสีย และแหล่งทิ้งขยะมูลฝอย เป็นต้น หากอาหารไม่สะอาด มีสารปนเปื้อน ปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ทำให้ผู้บริโภคมีอาการท้องเสียได้ จากสถานการณ์โรคอุจจาระร่วง ปี 2565 ของตำบลท่าหินได้รับรายงานผู้ป่วยโรค Diarrhea จำนวนทั้งสิ้น 35 ราย เป็นอัตราป่วย 1451.07 ต่อประชากรแสนคน ไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต โดยพบมากในกลุ่มเด็ก 0-4 ปี อัตราป่วย 835.42 ต่อแสนประชากร ตามมาด้วยกลุ่มเด็กอายุ 5-9 ปี มีอัตราป่วย 294.37 ต่อแสนประชากรตามลำดับ โดยอาชีพส่วนใหญ่คือเด็กในปกครอง ซึ่งโรคอุจจาระร่วงยังเป็นปัญหาที่สำคัญของตำบลท่าหินและพื้นที่คาบสมุทรสทิงพระ โดยมีอัตราป่วยเกินกว่า 1000 ต่อแสนประชากร จากการดำเนินงานอาหารปลอดภัยและงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุขของ รพ.สต.ท่าหิน ปี2565 ที่ได้ดำเนินการแล้วเสร็จ เช่น โดยอบรมพี่เลี้ยงเด็กอายุ 0-4 ปี จำนวน 20 คน และ 2-4 ปี จำนวน 20 คน และผู้ประกอบอาหารในโรงเรียน จำนวน 2 คน ผู้ประกอบอาหารในงานเลี้ยงของชุมชน 3 คน การตรวจสารปนเปื้อนในแผงลอยจำหน่ายอาหารจำนวน 1 แผง คิดเป็นร้อยละ 100 แม้การดำเนินงานสุขาภิบาลอาหารของ รพ.สต.ท่าหิน จะเน้นกลุ่มเด็ก 0-4 ปี พี่เลี้ยงเด็ก ผู้ประกอบอาหารในโรงเรียน งานวัดต่างๆแล้วแต่ไม่สามารถทำให้โรคอุจจาระร่วงลดลงได้ จำเป็นต้องดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง โดยอาศัยแกนนำสุขาภิบาลอาหารของตำบลท่าหิน เช่น นักเรียน ครู ร้านค้า ผู้ดูแลเด็กเล็กในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ตัวแทนร้านค้า ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าหิน จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังการบริโภคอาหารสะอาด ปลอดภัยจากสารปนเปื้อนคุ้มครองผู้บริโภค รพ.สต.ท่าหิน ปี 2566 ขึ้นเพื่อประชาชนตำบลท่าหินมีสุขภาพดีปราศจากโรคที่เกิดจากการบริโภคอาหารไม่ถูกต้องต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ขายอาหารแผงลอยในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าหิน มีความรู้ในการดำเนินงานอาหารสะอาด ปลอดภัย ตระหนัก เห็นความสำคัญและร่วมรับผิดชอบในการพัฒนาให้แผงลอยผ่านเกณฑ์มาตรฐาน
  2. เพื่อให้กลุ่มแกนนำอบต. ผู้นำชุมชน อสม. ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียน ในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าหิน มีความรู้เรื่องอาหารปลอดภัยสุขาภิบาลอาหาร สามารถเลือกซื้อ บริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย
  3. เพื่อสร้างภาคีเครือข่ายที่เข้มแข็งแก่ผุูบริโภค
  4. เพื่อพัฒนาองค์กรปลอดโฟมและแผงลอยปลอดโฟม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมสุขาภิบาลอาหาร
  2. อบรมสุขาภิบาลร่วมกับรถ Mobile สสจ.สงขลา
  3. ตรวจสารปนเปื้อนในอาหารและทดสอบสารไอโอดีนในเกลือปรุงรส

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 45
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้ประกอบการอาหาร แผงลอย มีความรู้เรื่องสุขาภิบาลอาหาร และปฏิบัติตามมาตรฐานของสถานประกอบการ ประชาชนมีความรู้ เกิดความตระหนัก และเห็นความสำคัญในการเลือกซื้อและบริโภคอาหารที่สะอาดและปลอดภัยได้คุณค่าทางอาหาร


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผลการดำเนินงาน 1.ผู้ขายอาหารแผงลอยในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าหิน มีความรู้ในการดำเนินงานอาหารสะอาด ปลอดภัย ร้อยละ 86 2.กลุ่มแกนนำ อบต.ผู้นำชุมชน อสม. ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและในโรงเรียนในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าหิน มีความรู้เรื่องอาหารปลอดภัยสุขาภิบาลอาหาร ร้อยละ 86 3.เพื่อสร้างภาคีเครือข่ายแก่ผู้บริโภค ร้อยละ 100 4.เพื่อให้สถานประกอบการและร้านอาหาร แผงลอย ปลอดโฟมและพลาสติกที่เป็นอันตรายร้อยละ 100
ส่งผลให้ผู้ประกอบการอาหาร แผงลอย มีความรู้เรื่องการสุขาภิบาลอาหารและปฏิบัติตามมาตรฐานของสถานประกอบการ ประชาชนมีความรู้ เกิดความตระหนัก และเห็นความสำคัญในการเลือกซื้อและบริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัย ได้คุณค่าทางโภชนาการ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ขายอาหารแผงลอยในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าหิน มีความรู้ในการดำเนินงานอาหารสะอาด ปลอดภัย ตระหนัก เห็นความสำคัญและร่วมรับผิดชอบในการพัฒนาให้แผงลอยผ่านเกณฑ์มาตรฐาน
ตัวชี้วัด : ผู้ขายอาหารแผงลอยในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าหินมีความรู้ในการดำเนินงานอาหารสะอาดปลอดภัยร้อยละ 80
1.00 1.00 1.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มแกนนำอบต. ผู้นำชุมชน อสม. ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียน ในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าหิน มีความรู้เรื่องอาหารปลอดภัยสุขาภิบาลอาหาร สามารถเลือกซื้อ บริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย
ตัวชี้วัด : กลุ่มแกนนำ อบต. ผู้นำชุมชน อสม. ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและในโรงเรียน ในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าหินมีความรู้เรื่องอาหารปลอดภัยสุขาภิบาลอาหารร้อยละ 80
34.00 34.00 34.00

 

3 เพื่อสร้างภาคีเครือข่ายที่เข้มแข็งแก่ผุูบริโภค
ตัวชี้วัด : เพื่อสร้างภาคีเครือข่ายแก่ผู้บริโภค ร้อยละ 80
34.00 34.00 34.00

 

4 เพื่อพัฒนาองค์กรปลอดโฟมและแผงลอยปลอดโฟม
ตัวชี้วัด : เพื่อให้สถานประกอบการและร้านอาหาร แผงลอย ปลอดโฟมและพลาสติกที่เป็นอันตรายร้อยละ 100
5.00 5.00 5.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 45 45
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 45
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ขายอาหารแผงลอยในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าหิน มีความรู้ในการดำเนินงานอาหารสะอาด ปลอดภัย ตระหนัก เห็นความสำคัญและร่วมรับผิดชอบในการพัฒนาให้แผงลอยผ่านเกณฑ์มาตรฐาน (2) เพื่อให้กลุ่มแกนนำอบต. ผู้นำชุมชน อสม.  ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียน ในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าหิน มีความรู้เรื่องอาหารปลอดภัยสุขาภิบาลอาหาร สามารถเลือกซื้อ บริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย (3) เพื่อสร้างภาคีเครือข่ายที่เข้มแข็งแก่ผุูบริโภค (4) เพื่อพัฒนาองค์กรปลอดโฟมและแผงลอยปลอดโฟม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมสุขาภิบาลอาหาร (2) อบรมสุขาภิบาลร่วมกับรถ Mobile สสจ.สงขลา (3) ตรวจสารปนเปื้อนในอาหารและทดสอบสารไอโอดีนในเกลือปรุงรส

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังการบริโภคอาหารสะอาด ปลอดภัยจากสารปนเปื้อน และคุ้มครองผู้บริโภค รพ.สต.ท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี2566 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L5240-01-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางจารุพรรณ โปชู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด