กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสะอาด


“ โครงการจัดการขยะเปียก ขยะอินทรีย์ สร้างสารพัดประโยชน์ในครัวเรือน ”

ตำบลโคกสะอาด อำเภอลำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์

หัวหน้าโครงการ
นายณัฐพัฒน์ นันทะใจ

ชื่อโครงการ โครงการจัดการขยะเปียก ขยะอินทรีย์ สร้างสารพัดประโยชน์ในครัวเรือน

ที่อยู่ ตำบลโคกสะอาด อำเภอลำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัด บุรีรัมย์

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการจัดการขยะเปียก ขยะอินทรีย์ สร้างสารพัดประโยชน์ในครัวเรือน จังหวัดบุรีรัมย์" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกสะอาด อำเภอลำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสะอาด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการจัดการขยะเปียก ขยะอินทรีย์ สร้างสารพัดประโยชน์ในครัวเรือน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการจัดการขยะเปียก ขยะอินทรีย์ สร้างสารพัดประโยชน์ในครัวเรือน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกสะอาด อำเภอลำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสะอาด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ
  2. เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมเชิงปฏิบัติการการคัดแยกขยะอย่างยั่งยืน
  2. ติดตามประเมินผล ครัวเรือนต้นแบบคัดแยกขยะ สร้างแหล่งเรียนรู้ชุมชน
  3. อบรมเชิงปฏิบัติการการทำปุ๋ยหมักจากขยะอินทรีย์ น้ำหมักจุลรินทรีย์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 220
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เกิดครัวเรือนต้นแบบคัดแยกการขยะเปียก ขยะอินทรีย์ หมู่บ้านละไม่น้อยกว่า 15 ครัวเรือน
  2. ครัวเรือนต้นแบบสามารถทำน้ำหมักจุลรินทรีย์จากขยะเปียกขยะอินทรีย์ และนำไปใช้ประโยชน์ทางการเกษตรได้
  3. มีผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากการจัดการขยะของชุมชน เช่น น้ำหมักจุลรินทรีย์ ปุ๋ยหมัก ดินปลูก เป็นต้น
  4. เกิดการร่วมกลุ่มจัดการขยะชุมชนและมีการพัฒนาต่อยอดการบริหารจัดการขยะอย่างยั่งยืน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมเชิงปฏิบัติการการคัดแยกขยะอย่างยั่งยืน

วันที่ 20 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. วิทยากรจาก สนง.ส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น และ สนง.ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จ.บุรีรัมย์ บรรยายให้ความรู้การคัดแยกขยะอย่างถูกวิธี และการจัดการขยะแต่ละประเภท
  2. สาธิตการคัดแยกขยะอย่างถูกต้อง และการจัดการขยะแต่ละประเภท
  3. สาธิตการจัดการขยะเปียกและขยะอินทรีย์ การทำน้ำหมักจุลรินทรี
  4. สาธิตการทำถังขยะเปียก ขยะอินทรีย์ หรือการเลือกใช้วัสดุเหลือใช้ทำถังขยะเปียก และการขยาย EM
  5. สรุปผลและจัดทำข้อมูลครัวเรือนต้นแบบขยะเปียกประจำหมู่้บาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. มีตัวแทนหมู่บ้านที่สามารถเป็นครัวเรือนต้นแบบไม่น้อยกว่า 10 ครัวเรือน/หมู่บ้าน จะดำเนินการจัดการขยะเปียกขยะอินทรีย์อย่างถูกวิธีและสามารถใช้ประโยชน์ได้
  2. เกิดครัวเรือนต้นแบบการคัดแยกขยะเปียกขยะอินทรีย์ ไม่น้อยกว่า 220 ครัวเรือน และดำเนินการขยายผลสร้างครัวเรือนต้นแบบหมู่บ้านไม่น้อยกว่า 40 ครัวเรือน
  3. ข้อมูลครัวเรือนต้นแบบเพื่อพัฒนาต่อยอดเป็นศูนย์เรียนรู้
  4. ระบบการสนับสนุนการจัดการขยะของตำบล

 

235 0

2. ติดตามประเมินผล ครัวเรือนต้นแบบคัดแยกขยะ สร้างแหล่งเรียนรู้ชุมชน

วันที่ 6 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. คณะกรรมการประเมินผลประจำตำบล ลงพื้นที่รับผิดชอบทีมละ 8 หมู่บ้าน ร่วมกับคณะกรรมการประเมินผลระดับหมู่บ้าน วางแผนลงพื้นที่เพื่อตรวจประเมินผลครัวเรือนต้นแบบการคัดแยกขยะประจำหมู่บ้าน
  2. คณะกรรมการตรจประเมินผลร่วมดำเนินการประเมินครัวเรือนต้นแบบคัดแยกขยะใช้เวลา 5 วัน ให้ครบทั้ง 16 หมู่บ้าน
  3. คณะกรรมการตรวจประเมินผลร่วมประชุมรวบรวมคะแนนและจัดทำข้อมูลครัวเรือนต้นแบบ 4. ประกาศผลคัดเรือนต้นแบบคัดแยกขยะประจำหมู่บ้าน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. มีการทำงานร่วมกันระหว่างคณะกรรมการตรวจประเมินผลประจำตำบลและคณะกรรมการประเมินผลประจำหมู่บ้าน 58 คน ทุกคนมีความเข้าใจเกณฑ์ตัวชี้วัดประเมินผลคัดเลือกครัวเรือนต้นแบบคัดแยกขยะ
  2. ชุมชนเห็นความสำคัญการส่งเสริมสนับสนุนการคัดแยกขยะเปียกขยะอินทรีย์ในระดับครัวเรือน
  3. มีครัวเรือนเกดความสนใจร่วมดำเนินการคัดแยกขยะ พร้อมที่จะเรียนรู้และเป็นครัวเรือนขยายผล

 

250 0

3. อบรมเชิงปฏิบัติการการทำปุ๋ยหมักจากขยะอินทรีย์ น้ำหมักจุลรินทรีย์

วันที่ 28 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. วิทยากรจาก สนง.เกษตรจังหวัดบุรีรัมย์ และปราช์ชาวบ้านกลุ่มเกษตรอินทรีย์ อบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการการทำปุ๋ยหมักจากขยะอินทรีย์ และน้ำหมักจุลรินทร์จากเศษอาหาร
  2. สนับสนุนวัสดุอุปกรณ์การทำปุ๋ยหมัก เช่น พด.1 หัวเชื่อน้ำหมักจุลรินทรีย์ และอุปกรณ์ถุงหมัก
  3. สรุปผลการดำเนินงานและวางแผนการติดตามสนับสนุนการทำปุ๋ยหมัก น้ำหมักในระดับหมู่บ้าน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ครัวเรือนต้นแบบคัดแยกขยะมีการพัฒนาและเรียนรู้การคัดแยกขยะและการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน เพื่อพัมนาเป็นแหล่งเรียนรู้ระดับหมู่บ้านต่อไป
  2. เกิดครัวเรือนต้นแบบที่จะพัฒนาเป็นแหล่งเรียนรู้ชุมชนได้อย่างน้อย 5 ครับเรือน

 

90 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ
84.85 85.00

 

2 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse)
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse) เช่น การใช้ถุงพลาสติกซ้ำ ใช้ขวดน้ำซ้ำ ใช้กระดาษสองหน้า
68.69 70.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 220
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 220
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ (2) เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมเชิงปฏิบัติการการคัดแยกขยะอย่างยั่งยืน (2) ติดตามประเมินผล ครัวเรือนต้นแบบคัดแยกขยะ สร้างแหล่งเรียนรู้ชุมชน (3) อบรมเชิงปฏิบัติการการทำปุ๋ยหมักจากขยะอินทรีย์ น้ำหมักจุลรินทรีย์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการจัดการขยะเปียก ขยะอินทรีย์ สร้างสารพัดประโยชน์ในครัวเรือน จังหวัด บุรีรัมย์

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายณัฐพัฒน์ นันทะใจ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด