กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง


“ โครงการชุมชนร่วมใจ ผู้สูงวัยใส่ใจสุขภาพช่องปาก ประจำปี 2566 ”

ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนร่วมใจ ผู้สูงวัยใส่ใจสุขภาพช่องปาก ประจำปี 2566

ที่อยู่ ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 015 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 มิถุนายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนร่วมใจ ผู้สูงวัยใส่ใจสุขภาพช่องปาก ประจำปี 2566 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนร่วมใจ ผู้สูงวัยใส่ใจสุขภาพช่องปาก ประจำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนร่วมใจ ผู้สูงวัยใส่ใจสุขภาพช่องปาก ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 015 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 มิถุนายน 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ผู้สูงอายุเป็นอีกวัยหนึ่งที่ต้องให้ความสำคัญเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก คนส่วนใหญ่มักเข้าใจว่าควรส่งเสริมสุขภาพช่องปากในวัยเด็กเท่านั้น แต่ความจริงแล้ววัยสูงอายุก็มีความสำคัญเช่นเดียวกันเพราะเมื่อร่างกายมีอายุมากขึ้น ระบบการทำงานของอวัยวะในร่างกายต่างๆ ก็จะเสื่อมสภาพ รวมทั้งเหงือกและฟันที่อยู่ในช่องปากด้วย เป้าหมายทันตสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2564 (กองทันตสาธารณสุข,2549) ในกลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไป คือ ร้อยละ 40 ของผู้สูงอายุมีฟันแท้อยู่ในสภาพใช้งานได้ อย่างน้อย 20 ซี่ขึ้นไป จากรายงานผลการสำรวจสภาวะสุขภาพจังหวัดยะลาในปี 2564ผู้สูงอายุมีฟันแท้อยู่ในสภาพใช้งานได้20 ซี่ขึ้นไป ร้อยละ 21.42 แต่จากกการสำรวจสุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านบันนังดามา ในเดือน ตุลาคม 2565จำนวน 180 คนพบว่า ผู้สูงอายุมีฟันแท้อยู่ในสภาพใช้งานได้ 20 ซี่ขึ้นไป จำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 7.22เมื่อเปรียบเทียบกับ รายงานผลการสำรวจสภาวะสุขภาพจังหวัดยะลาถือว่าอยู่ในเกณฑ์ต่ำ อาจส่งผลต่อสุขภาวะในช่องปากของผู้สูงอายุในอนาคต ดังนั้นเพื่อเป็นการกระตุ้นให้ผู้สูงอายุ อสม รวมทั้งคนในชุมชน ให้ความสำคัญของทันตสุขภาพของตนเองมากขึ้น และเป็นการส่งเสริม ป้องกัน ไม่ให้โรคในช่องปากลุกลามและทวีความรุนแรงมากกว่าเดิม อีกทั้งเป็นการสนับสนุนให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการคิดวางแผนแก้ไขปัญหาโดยใช้ทรัพยากรที่มีในชุมชนมาประยุกต์ใช้ตามภูมิปัญญาชาวบ้านโดยการจัดทำน้ำยาบ้วนปากจากสมุนไพร เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการซื้อจากท้องตลาดและสามารถทำใช้ในครัวเรือนได้ พร้อมทั้งเป็นการสร้างแรงจูงใจให้ผู้สูงอายุมีสุขภาวะที่ดีต่อไป จึงได้จัดทำโครงการดังกล่าวขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อพัฒนารูปแบบเกี่ยวกับการดูแลการดูแลสุขภาพช่องปากโดยมีคนในชุมชนเป็นแกนนำ 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำให้มีความเชี่ยวชาญทางด้านการดูแลสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุในชุมชน 3. เพื่อพัฒนาทักษะในการทำความสะอาดช่องปากของผู้สูงอายุ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมพัฒนาการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย
  2. กิจกรรมพัฒนาทักษะส่วนบุคคลให้สอดคลองกับวีถีชุมชนให้กับผู้สูงอายุ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 15
กลุ่มผู้สูงอายุ 300
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 แกนนำมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้นและสามารถนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ในชุมชนได้ 2 ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากเพิ่มมากขึ้น 3 ผู้สูงอายุได้รับบริการตรวจสุขภาพช่องปาก 4 เกิดความมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องในการแก้ไขปัญหาทันตสุขภาพผู้สูงอายุ 5 ผู้สูงอายุที่เข้ารับการอบรมสามารถทำน้ำยาบ้วนปากจากสมุนไพรได้ด้วยตนเอง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อพัฒนารูปแบบเกี่ยวกับการดูแลการดูแลสุขภาพช่องปากโดยมีคนในชุมชนเป็นแกนนำ 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำให้มีความเชี่ยวชาญทางด้านการดูแลสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุในชุมชน 3. เพื่อพัฒนาทักษะในการทำความสะอาดช่องปากของผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : 1 แกนนำมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้นและสามารถนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ในชุมชนได้ 2 ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากเพิ่มมากขึ้น 3 ผู้สูงอายุได้รับบริการตรวจสุขภาพช่องปาก 4 เกิดความมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องในการแก้ไขปัญหาทันตสุขภาพผู้สูงอายุ 5 ผู้สูงอายุที่เข้ารับการอบรมสามารถทำน้ำยาบ้วนปากจากสมุนไพรได้ด้วยตนเอง
4.00 2.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 315
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 15
กลุ่มผู้สูงอายุ 300
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อพัฒนารูปแบบเกี่ยวกับการดูแลการดูแลสุขภาพช่องปากโดยมีคนในชุมชนเป็นแกนนำ  2. เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำให้มีความเชี่ยวชาญทางด้านการดูแลสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุในชุมชน  3. เพื่อพัฒนาทักษะในการทำความสะอาดช่องปากของผู้สูงอายุ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมพัฒนาการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย (2) กิจกรรมพัฒนาทักษะส่วนบุคคลให้สอดคลองกับวีถีชุมชนให้กับผู้สูงอายุ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชุมชนร่วมใจ ผู้สูงวัยใส่ใจสุขภาพช่องปาก ประจำปี 2566 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 015

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด