กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลิซา


“ โครงการรณรงค์ และการป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ ปีงบประมาณ 2566 ”

ตำบลกาลิซา อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายมาหะมะสักรี มะวี

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ และการป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ ปีงบประมาณ 2566

ที่อยู่ ตำบลกาลิซา อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2502-2-16 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2566 ถึง 31 กรกฎาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ และการป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ ปีงบประมาณ 2566 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาลิซา อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลิซา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ และการป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ ปีงบประมาณ 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ และการป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ ปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกาลิซา อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L2502-2-16 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2566 - 31 กรกฎาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 90,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลิซา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ผลการเฝ้าระวังเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ในผู้ป่วยกลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ (ILI) และกลุ่มอาการ  ปอดบวมจากโรงพยาบาลเครือข่ายของกรมควบคุมโรค ร่วมกับกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ และศูนย์ความร่วมมือไทย-สหรัฐ ด้านสาธารณสุข ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม–13 พฤษภาคม 2566 ได้รับตัวอย่างรวมทั้งสิ้น 3,444 ราย ผลตรวจพบเชื้อไข้หวัดใหญ่ 326 ราย คิดเป็นร้อยละ 9.47 แยกเป็นชนิด A/H3N2 จำนวน    166 ราย (ร้อยละ 50.92) ชนิด B จำนวน 95 ราย (ร้อยละ 29.14) และชนิด A/H1N1 (2009) จำนวน 65 ราย (ร้อยละ 19.94) ในสัปดาห์ที่ 19 (ระหว่างวันที่ 7 พฤษภาคม–13 พฤษภาคม 2566) ได้รับตัวอย่าง ผู้ป่วยส่งตรวจทั้งสิ้น 177 ราย จากโรงพยาบาลเครือข่าย 12 แห่ง พบให้ผลบวกต่อเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ 6 ราย คิดเป็นร้อยละ 3.47 โดยเป็นชนิด A/H1N1 (2009) ทั้ง 6 ราย (ร้อยละ 100) และอยู่ระหว่างรอผลการตรวจ ทางห้องปฏิบัติการ 4 ราย จากการติดตามอาการผู้ป่วยทั้ง 177 ราย ไม่พบผู้เสียชีวิต จากการเฝ้าระวังเหตุการณ์จากโปรแกรมตรวจสอบข่าวการระบาด กรมควบคุมโรค ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม–13 พฤษภาคม 2566      มีรายงานเหตุการณ์การระบาดโรคไข้หวัดใหญ่สะสม 16 เหตุการณ์ จากจังหวัดร้อยเอ็ด แพร่ จังหวัดละ    2 เหตุการณ์ รองลงมาเป็น สงขลา อุดรธานี เพชรบูรณ์ แม่ฮ่องสอน พะเยา สุพรรณบุรี กรุงเทพมหานคร นราธิวาส ประจวบคีรีขันธ์ ปทุมธานี เพชรบุรี และนราธิวาส จังหวัดละ 1 เหตุการณ์ ในสัปดาห์ที่ 19 (ระหว่างวันที่ 7 พฤษภาคม–13 พฤษภาคม 2566) มีรายงานเหตุการณ์ การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่ 1 เหตุการณ์ ดังนี้ 1) ผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่ 36 ราย ในค่ายทหารแห่งหนึ่ง จังหวัดนราธิวาส เริ่มป่วยเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2566 ด้วยอาการไอ มีน้ำมูก ปวดเมื่อยตามร่างกาย ปวดข้อ และปวดศีรษะ ดำเนินการ เก็บตัวอย่างส่งตรวจยืนยันการติดเชื้อไข้หวัดใหญ่และเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จำนวน 8 ราย อยู่ระหว่างรอผล การตรวจทางห้องปฏิบัติการคาดว่ามีโอกาสพบผู้ป่วยโรคไข้หวัดใหญ่เพิ่มขึ้น เนื่องจากช่วงฤดูกาลระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่ สภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลง ประกอบกับผ่อนคลายมาตรการต่างๆ มากขึ้น ประชาชนควรดูแลตนเองเพื่อป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ทุกสายพันธุ์ โรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ และโรคโควิด 19 โดยการ สวมหน้ากากอนามัยเมื่ออยู่ในบริเวณที่ชุมชน เว้นระยะห่างระหว่างบุคคล และล้างมือบ่อยๆ ด้วยสบู่ หรือแอลกอฮอล์เจล ไม่ใช้ของส่วนตัวรวมกับคนอื่น เช่น ผ้าเช็ดตัว แก้วน้ำ และเมื่อมีอาการป่วยควรหยุดเรียน หยุดงาน หยุดกิจกรรมในสถานที่แออัด รวมถึงการฉีดวัคซีนป้องกัน ไข้หวัดใหญ่ (กรมควบคุมโรค,2566)

ไข้หวัดใหญ่ (Influenza, Flu) คือ โรคติดต่อทางระบบทางเดินหายใจ เกิดจากเชื้อไวรัสที่ชื่อว่า Influenza สามารถติดต่อระหว่างคนสู่คนได้ผ่านการไอ จาม หรือสัมผัสผู้ที่ติดเชื้อไวรัส หลายท่านอาจคิดว่าไข้หวัดใหญ่เป็นโรคที่ไม่อันตราย แต่ในความเป็นจริงแล้วไข้หวัดใหญ่อาจทำให้เกิดอาการแทรกซ้อนหลังติดเชื้อหรือถึงแก่ชีวิตได้ กลุ่มคนที่จัดเป็นกลุ่มเสี่ยงที่มีโอกาสเกิดโรคแทรกซ้อนที่มีอันตรายได้ง่าย ซึ่งสมควรเข้ารับการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ ได้แก่เด็กเล็กอายุต่ำกว่า 5 ปี โดยเฉพาะเด็กที่มีอายุน้อยกว่า 2 ปี ผู้ใหญ่อายุ  ตั้งแต่ 65 ปีขึ้นไป หญิงตั้งครรภ์ ผู้ที่มีโรคประจำตัวหลายอย่าง เช่น โรคหอบหืด โรคทางสมอง เช่น โรคลมชัก พิการทางสมอง อัมพาต อัมพฤกษ์ ปัญญาอ่อน โรคของกล้ามเนื้อและไขสันหลัง ฯลฯ โรคปอดเรื้อรัง      ถุงลมโป่งพอง มะเร็งปอด โรคหัวใจ โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ โรคเลือด โรคเบาหวานและโรคที่มีความผิดปกติของฮอร์โมนอื่นๆ โรคไต โรคตับ โรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง เช่น โรคเอดส์ โรคมะเร็ง และได้รับยาสเตียรอยด์หรือยาแอสไพรินต่อเนื่องนานๆ จากโรคที่กำลังรักษาอยู่ ไข้หวัดใหญ่มักแสดงอาการที่อาจทำให้ท่านสับสนกับไข้หวัดทั่วไป โดยอาการแสดงเด่นๆ ที่อาจทำให้ท่านสงสัยได้ว่าตนเองติดเชื้อไวรัส  ไข้หวัดใหญ่สัญญาณเตือนไข้หวัดใหญ่ ปวดศีรษะ ไอแห้ง มีน้ำมูกคัดจมูก ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ มีไข้สูง    การแพร่กระจายของเชื้อ สามารถแพร่กระจายโดยการไอ จาม หรือ ใช้ของใช้ร่วมกัน หมั่นล้างมือด้วยสบู่  ให้สะอาดอยู่เสมอ หลีกเลี่ยงพื้นที่แออัดหรือใส่หน้ากากอนามัยเพื่อป้องการการติดเชื้อ ควรรับวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่
ดังนั้น อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ตำบลกาลิซา เล็งเห็นถึงปัญหาการการระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่ จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์และป้องกันไข้หวัดใหญ่ ปี 2566 เพื่อลดความเสี่ยง และป้องกันการแพร่ระบาดของดรคไข้หวัดใหญ่ในพื้นที่

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้หวัดใหญ่ การปฏิบัติตนในการป้องกัน และเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่
  2. เพื่อให้ประชาชนฉีดวัคซีนกระตุ้นป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1 ประชาชนสามารถป้องกัน และเฝ้าระวังตนเองจากการติดเชื้อไข้หวัดใหญ่ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2 ประชาชนได้รับวัคซีนไข้หวัดใหญ่ สร้างภูมิคุ้มกันให้กับตนเอง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้หวัดใหญ่ การปฏิบัติตนในการป้องกัน และเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่
    ตัวชี้วัด : สามารถป้องกัน และเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคในพื้นที่ได้ ร้อยละของ ปชช. : ปชช. มีการปฏิบัติตามมาตรการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่

     

    2 เพื่อให้ประชาชนฉีดวัคซีนกระตุ้นป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่
    ตัวชี้วัด : เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันโรคให้แก่ประชาชนได้รับวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ ร้อยละของ ปชช. : ปชช. ได้รับวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้หวัดใหญ่ การปฏิบัติตนในการป้องกัน    และเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่ (2) เพื่อให้ประชาชนฉีดวัคซีนกระตุ้นป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการรณรงค์ และการป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 66-L2502-2-16

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายมาหะมะสักรี มะวี )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด