กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการวัยเรียนวัยใส ใส่ใจเพศศึกษา ”
ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
นางสาวณัฐวรา ปราบแทน ตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ




ชื่อโครงการ โครงการวัยเรียนวัยใส ใส่ใจเพศศึกษา

ที่อยู่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-L1485-1-40 เลขที่ข้อตกลง 39/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการวัยเรียนวัยใส ใส่ใจเพศศึกษา จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการวัยเรียนวัยใส ใส่ใจเพศศึกษา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการวัยเรียนวัยใส ใส่ใจเพศศึกษา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 66-L1485-1-40 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2566 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,550.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

วัยรุ่นเป็นระยะเปลี่ยนผ่านของชีวิตจากวัยเด็กสู่วัยผู้ใหญ่ เป็นช่วงวัยที่มีการเจริญเติบโตด้านร่างกายมีรูปร่างที่เปลี่ยนไปเป็นผู้ใหญ่ และมีพัฒนาการทางเพศเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์  ในปัจจุบันแนวโน้มในการเข้าสู่วัยเริ่มหนุ่มสาวเร็วขึ้นทั้งในเพศหญิงและเพศชาย โดยทั่วไปแล้ว คือ  ช่วง 10-14 ปี สำหรับเด็กชาย และ 9-15 ปี สำหรับเด็กหญิง  ซึ่งผลจากฮอร์โมนของแต่ละเพศที่กระตุ้นการสร้างลักษณะทางเพศของร่างกายให้เติบโตจากเด็กสู่ผู้ใหญ่ ฮอร์โมนดังกล่าวยังมีผลต่ออารมณ์ของวัยรุ่น ในวัยนี้ทั้งหญิงและชายไม่ได้มีเฉพาะการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายเท่านั้น แต่รวมถึงการเปลี่ยนแปลงทางด้านอารมณ์และความรู้สึกด้วยจะเริ่มมีความสนใจในเพศตรงข้าม รวมทั้งเริ่มเกิดอารมณ์ความต้องการทางเพศตามธรรมชาติ ร่วมกับบริบททางสังคมในปัจจุบันของประเทศไทยที่มีการเข้าถึงสื่อต่างๆได้ง่าย ความหลากหลายของสื่อ  และสื่อจำนวนมากก็สามารถกระตุ้นให้วัยรุ่นเกิดอารมณ์ทางเพศได้ไม่ว่าจะตั้งใจหรือไม่ก็ตาม ซึ่งอาจจะชักนำไปสู่การมีเพศสัมพันธ์ได้ จากสถานการณ์ปัญหาเรื่องเพศของเด็กวัยรุ่น พบว่า ปีงบประมาณ 2564  หญิงตั้งครรภ์ 23ราย พบว่า วัยรุ่น อายุระหว่าง 13-17 ปี มาฝากครรภ์ ทั้งหมด 5 ราย และปีงบประมาณ 2566 หญิงตั้งครรภ์17 ราย พบว่า วัยรุ่นอายุระหว่าง 13-17 ปี มาฝากครรภ์ ทั้งหมด  3 ราย และทุกปี พบว่า จะมีหญิงวัยรุ่นที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร มาฝากครรภ์ทุกปี ซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่มาจากขาดความรู้ ทักษะในการหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ  การไม่สามารถจัดการอารมณ์ตนเอง และขาดทักษะในการจัดการความสัมพันธ์  ดังนั้นในการแก้ไขปัญหาเรื่องเพศและความเสี่ยงทางเพศ การไม่เท่าทันสื่อเทคโนโลยีและผลกระทบด้านลบจากการใช้สื่อออนไลน์ นักเรียนจึงต้องการความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะที่จะเผชิญและจัดการสถานการณ์ท้าทายในชีวิต โดยเฉพาะเรื่องเพศในช่วงอายุตั้งแต่เริ่มเข้าสู่วัยรุ่นนั่นเอง รพสต.บ้านลำปลอก ได้ให้ความสำคัญกับปัญหาดังกล่าว  จึงได้จัดทำโครงการวัยเรียนวัยใส ใส่ใจเพศศึกษา เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ใส่ใจในพัฒนาการตามช่วงวัยเมื่อเข้าสู้วัยเจริญพันธุ์ และสามารถจัดการอารมณ์ทางเพศได้ด้วยตนเอง และป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้นักเรียนได้รับความรู้เรื่องสุขอนามัยทางเพศพัฒนาการของอวัยวะในร่างกาย
  2. 2. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้และทักษะในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวกับเพศ
  3. 3. เพื่อให้นักเรียนตระหนักถึงความสำคัญของการเห็นคุณค่าในตนเองและสร้างความภาคภูมิใจ ในตนเอง ลดปัญหาการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. นักเรียนได้รับความรู้เรื่องสุขอนามัยทางเพศพัฒนาการของอวัยวะในร่างกาย ได้รับการเสริมสร้างและพัฒนาความรู้และความเข้าใจด้านเพศศึกษาส่งผลให้เกิดทักษะชีวิตและสุขภาวะเรื่องเพศที่ดี
    2. นักเรียนมีความรู้และทักษะในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวกับเพศ
    3. นักเรียนตระหนักถึงความสำคัญของการเห็นคุณค่าในตนเองและสร้างความภาคภูมิใจ ในตนเอง ปัญหาการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรในชุมชนลดลง

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้นักเรียนได้รับความรู้เรื่องสุขอนามัยทางเพศพัฒนาการของอวัยวะในร่างกาย
    ตัวชี้วัด :

     

    2 2. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้และทักษะในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวกับเพศ
    ตัวชี้วัด :

     

    3 3. เพื่อให้นักเรียนตระหนักถึงความสำคัญของการเห็นคุณค่าในตนเองและสร้างความภาคภูมิใจ ในตนเอง ลดปัญหาการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้นักเรียนได้รับความรู้เรื่องสุขอนามัยทางเพศพัฒนาการของอวัยวะในร่างกาย (2) 2. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้และทักษะในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวกับเพศ (3) 3. เพื่อให้นักเรียนตระหนักถึงความสำคัญของการเห็นคุณค่าในตนเองและสร้างความภาคภูมิใจ ในตนเอง ลดปัญหาการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการวัยเรียนวัยใส ใส่ใจเพศศึกษา จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 66-L1485-1-40

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวณัฐวรา ปราบแทน ตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด