โครงการอบรมให้ความรู้และเพิ่มทักษะในการตรวจคัดกรองภาวะเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการอบรมให้ความรู้และเพิ่มทักษะในการตรวจคัดกรองภาวะเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง ”
ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางสาวณัฐวรา ปราบแทน พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน
สิงหาคม 2566
ชื่อโครงการ โครงการอบรมให้ความรู้และเพิ่มทักษะในการตรวจคัดกรองภาวะเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง
ที่อยู่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 66-L1485-1-43 เลขที่ข้อตกลง 42/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมให้ความรู้และเพิ่มทักษะในการตรวจคัดกรองภาวะเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมให้ความรู้และเพิ่มทักษะในการตรวจคัดกรองภาวะเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมให้ความรู้และเพิ่มทักษะในการตรวจคัดกรองภาวะเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 66-L1485-1-43 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2566 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคความดันโลหิตสูงเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญของประชากร โดยข้อมูลจากองค์การอนามัยโลก (WHO) พบว่า ในกลุ่มประชากรอายุ 30-79 ปี มีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงเกือบ 1.3 พันล้านคน และมักไม่แสดงอาการในระยะเริ่มต้นแต่สามารถตรวจวินิจฉัยได้ และยังพบว่าโรคความดันโลหิตสูงเป็นปัจจัยเสี่ยง ที่ก่อให้เกิดโรคอื่นๆ เช่น โรคหัวใจขาดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง โรคไต เป็นต้นซึ่งเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตก่อนวัยอันควร
สำหรับประเทศไทยมีแนวโน้มพบผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากการสำรวจสุขภาพประชากรไทยในปี 2562-2563 พบว่าประชากรอายุ 18 ปีขึ้นไป เป็นโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 13 ล้านคน และในจำนวนนี้มีมากถึง 7 ล้านคน ไม่ทราบว่าตนเองป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง หากผู้ป่วยมีภาวะความดันโลหิตสูงเป็นระยะเวลานานและไม่ได้รับการดูแลรักษา ความรุนแรงของโรคจะเพิ่มมากขึ้น อาจแสดงอาการต่างๆ ได้แก่ ปวดศีรษะ ใจสั่น ตาพร่ามัว อ่อนเพลีย วิงเวียน สับสน หายใจลำบาก หัวใจเต้นผิดปกติ แต่หากได้รับการรักษาตั้งแต่เริ่มต้น และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิตพร้อมติดตามวัดความดันโลหิตด้วยตนเองที่บ้านอย่างสม่ำเสมอ จะสามารถควบคุมความดันโลหิตได้ดียิ่งขึ้น และจะลดภาวะแทรกซ้อน ที่รุนแรงได้เป็นอย่างดี
กระทรวงสาธารณสุขมีแผนจะสนับสนุนให้มีเครื่องวัดความดันโลหิตในพื้นที่สาธารณะ เพื่อเพิ่มการเข้าถึงการวัดความดันโลหิตมากขึ้น สร้างความตระหนักและสร้างการรับรู้ต่อสุขภาพของตนเอง มุ่งเน้นให้ประชาชนวัดความดันโลหิตอย่างถูกวิธีและทราบระดับความดันโลหิตของตนเอง (ที่มา : กรมอธิบดีควบคุมโรค, 17 พค.64)
จากสถานการณ์โรคความดันโลหิตสูงในเขตของโรงพยาบาลส่งเสริมตำบลบ้านลำปลอก พบว่าในปี 2564 มีกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 278 ราย คิดเป็นร้อยละ 63.76 ปี 2565 จำนวน 274 รายคิด 64.16 และในปี 2566 จำนวน 119 ราย คิดเป็นร้อยละ 70.00 ซึ่งจากสถานการณ์ดังกล่าวพบว่า ประชาชนจำนวนมากมีความเสี่ยงในการเป็นโรคความดันโลหิตสูง และมีแนวโน้มว่าประชาชนที่เป็นความเสี่ยงสูงเหล่านี้ มีโอกาสเป็นผู้ป่วยความดันโลหิตรายใหม่ ซึ่ง อสม.นั้นถือได้ว่าเป็นบุคลากรหนึ่งที่มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งในการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง ดังนั้นทาง รพสต.บ้านลำปลอกจึงให้ความสำคัญในการพัฒนาศักยภาพ ของ อสม.ให้มีความรู้ ความชำนาญในการใช้เครื่องมือในการคัดกรอง จึงได้มีการจัดทำโครงการอบรมให้ความรู้และเพิ่มทักษะในการตรวจคัดกรองภาวะเสี่ยงโรคความดันโลหิตเพื่อให้ อสม.ทั้งรายเก่าและรายใหม่ได้ มีความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องโรคความดันโลหิตสูง และสามารถใช้เครื่องมือในการคัดกรองผู้ป่วยได้อย่างถูกต้อง แม่นยำ ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงหรือสงสัยต่อการเป็นโรค ความดันโลหิตสูงในชุมชนได้รับการดูแลรักษา ส่งต่อเพื่อเข้ารับการรักษาได้ทัน และประชาชนในพื้นที่ได้รับการคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อภาวะโรค Metabolic อีกทั้งสามารถค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ในชุมชนได้ตั้งแต่ระยะเริ่มแรก และให้ได้รับการดูแลรักษาทันที เพื่อลดความรุนแรงของโรค
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่อให้ อสม.มีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคความดันโลหิตสูง
- ๒. เพื่ออบรม ฟื้นฟู ทักษะการใช้เครื่องมือในการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง
- 3. เพื่อให้ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงหรือสงสัยต่อการเป็นโรคความดันโลหิตสูงได้รับการดูแลรักษา ส่งต่อเพื่อเข้ารับการรักษาต่อไป
- 4. เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ได้รับการคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อภาวะโรค Metabolic
- 5. เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ตั้งแต่ระยะเริ่มแรก และให้ได้รับการดูแลรักษาทันที เพื่อลดความรุนแรงของโรค
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
40
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- อสม.มีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคความดันโลหิตสูง
- อสม.มีทักษะการใช้เครื่องมือในการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง
- ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงหรือสงสัยต่อการเป็นโรคความดันโลหิตสูงได้รับการดูแลรักษา และสามารถส่งต่อเพื่อเข้ารับการรักษาได้อย่างทันท่วงที
- ประชาชนในพื้นที่ได้รับการคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อภาวะโรค Metabolic
- สามารถค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ตั้งแต่ระยะเริ่มแรก และให้ได้รับการดูแลรักษาทันที ลดอัตราการเกิดความรุนแรงของโรคในผู้ป่วยได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
๑. เพื่อให้ อสม.มีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด :
2
๒. เพื่ออบรม ฟื้นฟู ทักษะการใช้เครื่องมือในการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด :
3
3. เพื่อให้ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงหรือสงสัยต่อการเป็นโรคความดันโลหิตสูงได้รับการดูแลรักษา ส่งต่อเพื่อเข้ารับการรักษาต่อไป
ตัวชี้วัด :
4
4. เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ได้รับการคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อภาวะโรค Metabolic
ตัวชี้วัด :
5
5. เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ตั้งแต่ระยะเริ่มแรก และให้ได้รับการดูแลรักษาทันที เพื่อลดความรุนแรงของโรค
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
40
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
40
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้ อสม.มีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคความดันโลหิตสูง (2) ๒. เพื่ออบรม ฟื้นฟู ทักษะการใช้เครื่องมือในการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง (3) 3. เพื่อให้ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงหรือสงสัยต่อการเป็นโรคความดันโลหิตสูงได้รับการดูแลรักษา ส่งต่อเพื่อเข้ารับการรักษาต่อไป (4) 4. เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ได้รับการคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อภาวะโรค Metabolic (5) 5. เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ตั้งแต่ระยะเริ่มแรก และให้ได้รับการดูแลรักษาทันที เพื่อลดความรุนแรงของโรค
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการอบรมให้ความรู้และเพิ่มทักษะในการตรวจคัดกรองภาวะเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 66-L1485-1-43
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวณัฐวรา ปราบแทน พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการอบรมให้ความรู้และเพิ่มทักษะในการตรวจคัดกรองภาวะเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง ”
ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางสาวณัฐวรา ปราบแทน พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ
สิงหาคม 2566
ที่อยู่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 66-L1485-1-43 เลขที่ข้อตกลง 42/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมให้ความรู้และเพิ่มทักษะในการตรวจคัดกรองภาวะเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมให้ความรู้และเพิ่มทักษะในการตรวจคัดกรองภาวะเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมให้ความรู้และเพิ่มทักษะในการตรวจคัดกรองภาวะเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 66-L1485-1-43 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2566 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคความดันโลหิตสูงเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญของประชากร โดยข้อมูลจากองค์การอนามัยโลก (WHO) พบว่า ในกลุ่มประชากรอายุ 30-79 ปี มีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงเกือบ 1.3 พันล้านคน และมักไม่แสดงอาการในระยะเริ่มต้นแต่สามารถตรวจวินิจฉัยได้ และยังพบว่าโรคความดันโลหิตสูงเป็นปัจจัยเสี่ยง ที่ก่อให้เกิดโรคอื่นๆ เช่น โรคหัวใจขาดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง โรคไต เป็นต้นซึ่งเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตก่อนวัยอันควร สำหรับประเทศไทยมีแนวโน้มพบผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากการสำรวจสุขภาพประชากรไทยในปี 2562-2563 พบว่าประชากรอายุ 18 ปีขึ้นไป เป็นโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 13 ล้านคน และในจำนวนนี้มีมากถึง 7 ล้านคน ไม่ทราบว่าตนเองป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง หากผู้ป่วยมีภาวะความดันโลหิตสูงเป็นระยะเวลานานและไม่ได้รับการดูแลรักษา ความรุนแรงของโรคจะเพิ่มมากขึ้น อาจแสดงอาการต่างๆ ได้แก่ ปวดศีรษะ ใจสั่น ตาพร่ามัว อ่อนเพลีย วิงเวียน สับสน หายใจลำบาก หัวใจเต้นผิดปกติ แต่หากได้รับการรักษาตั้งแต่เริ่มต้น และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิตพร้อมติดตามวัดความดันโลหิตด้วยตนเองที่บ้านอย่างสม่ำเสมอ จะสามารถควบคุมความดันโลหิตได้ดียิ่งขึ้น และจะลดภาวะแทรกซ้อน ที่รุนแรงได้เป็นอย่างดี กระทรวงสาธารณสุขมีแผนจะสนับสนุนให้มีเครื่องวัดความดันโลหิตในพื้นที่สาธารณะ เพื่อเพิ่มการเข้าถึงการวัดความดันโลหิตมากขึ้น สร้างความตระหนักและสร้างการรับรู้ต่อสุขภาพของตนเอง มุ่งเน้นให้ประชาชนวัดความดันโลหิตอย่างถูกวิธีและทราบระดับความดันโลหิตของตนเอง (ที่มา : กรมอธิบดีควบคุมโรค, 17 พค.64) จากสถานการณ์โรคความดันโลหิตสูงในเขตของโรงพยาบาลส่งเสริมตำบลบ้านลำปลอก พบว่าในปี 2564 มีกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 278 ราย คิดเป็นร้อยละ 63.76 ปี 2565 จำนวน 274 รายคิด 64.16 และในปี 2566 จำนวน 119 ราย คิดเป็นร้อยละ 70.00 ซึ่งจากสถานการณ์ดังกล่าวพบว่า ประชาชนจำนวนมากมีความเสี่ยงในการเป็นโรคความดันโลหิตสูง และมีแนวโน้มว่าประชาชนที่เป็นความเสี่ยงสูงเหล่านี้ มีโอกาสเป็นผู้ป่วยความดันโลหิตรายใหม่ ซึ่ง อสม.นั้นถือได้ว่าเป็นบุคลากรหนึ่งที่มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งในการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง ดังนั้นทาง รพสต.บ้านลำปลอกจึงให้ความสำคัญในการพัฒนาศักยภาพ ของ อสม.ให้มีความรู้ ความชำนาญในการใช้เครื่องมือในการคัดกรอง จึงได้มีการจัดทำโครงการอบรมให้ความรู้และเพิ่มทักษะในการตรวจคัดกรองภาวะเสี่ยงโรคความดันโลหิตเพื่อให้ อสม.ทั้งรายเก่าและรายใหม่ได้ มีความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องโรคความดันโลหิตสูง และสามารถใช้เครื่องมือในการคัดกรองผู้ป่วยได้อย่างถูกต้อง แม่นยำ ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงหรือสงสัยต่อการเป็นโรค ความดันโลหิตสูงในชุมชนได้รับการดูแลรักษา ส่งต่อเพื่อเข้ารับการรักษาได้ทัน และประชาชนในพื้นที่ได้รับการคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อภาวะโรค Metabolic อีกทั้งสามารถค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ในชุมชนได้ตั้งแต่ระยะเริ่มแรก และให้ได้รับการดูแลรักษาทันที เพื่อลดความรุนแรงของโรค
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่อให้ อสม.มีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคความดันโลหิตสูง
- ๒. เพื่ออบรม ฟื้นฟู ทักษะการใช้เครื่องมือในการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง
- 3. เพื่อให้ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงหรือสงสัยต่อการเป็นโรคความดันโลหิตสูงได้รับการดูแลรักษา ส่งต่อเพื่อเข้ารับการรักษาต่อไป
- 4. เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ได้รับการคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อภาวะโรค Metabolic
- 5. เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ตั้งแต่ระยะเริ่มแรก และให้ได้รับการดูแลรักษาทันที เพื่อลดความรุนแรงของโรค
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 40 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- อสม.มีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคความดันโลหิตสูง
- อสม.มีทักษะการใช้เครื่องมือในการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง
- ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงหรือสงสัยต่อการเป็นโรคความดันโลหิตสูงได้รับการดูแลรักษา และสามารถส่งต่อเพื่อเข้ารับการรักษาได้อย่างทันท่วงที
- ประชาชนในพื้นที่ได้รับการคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อภาวะโรค Metabolic
- สามารถค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ตั้งแต่ระยะเริ่มแรก และให้ได้รับการดูแลรักษาทันที ลดอัตราการเกิดความรุนแรงของโรคในผู้ป่วยได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ๑. เพื่อให้ อสม.มีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคความดันโลหิตสูง ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | ๒. เพื่ออบรม ฟื้นฟู ทักษะการใช้เครื่องมือในการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | 3. เพื่อให้ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงหรือสงสัยต่อการเป็นโรคความดันโลหิตสูงได้รับการดูแลรักษา ส่งต่อเพื่อเข้ารับการรักษาต่อไป ตัวชี้วัด : |
|
|||
4 | 4. เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ได้รับการคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อภาวะโรค Metabolic ตัวชี้วัด : |
|
|||
5 | 5. เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ตั้งแต่ระยะเริ่มแรก และให้ได้รับการดูแลรักษาทันที เพื่อลดความรุนแรงของโรค ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 40 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 40 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้ อสม.มีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคความดันโลหิตสูง (2) ๒. เพื่ออบรม ฟื้นฟู ทักษะการใช้เครื่องมือในการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง (3) 3. เพื่อให้ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงหรือสงสัยต่อการเป็นโรคความดันโลหิตสูงได้รับการดูแลรักษา ส่งต่อเพื่อเข้ารับการรักษาต่อไป (4) 4. เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ได้รับการคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อภาวะโรค Metabolic (5) 5. เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ตั้งแต่ระยะเริ่มแรก และให้ได้รับการดูแลรักษาทันที เพื่อลดความรุนแรงของโรค
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการอบรมให้ความรู้และเพิ่มทักษะในการตรวจคัดกรองภาวะเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 66-L1485-1-43
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวณัฐวรา ปราบแทน พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......