กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการเสริมสร้างสุขภาพด้วยวิถีแผนไทย ”
ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
นายฤทธิพร แก้วพิทักษ์ ประธานชมรม อสม. รพ.สต.บ้านลำปลอก




ชื่อโครงการ โครงการเสริมสร้างสุขภาพด้วยวิถีแผนไทย

ที่อยู่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-L1485-2-46 เลขที่ข้อตกลง 45/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเสริมสร้างสุขภาพด้วยวิถีแผนไทย จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมสร้างสุขภาพด้วยวิถีแผนไทย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเสริมสร้างสุขภาพด้วยวิถีแผนไทย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 66-L1485-2-46 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2566 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,450.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภูมิปัญญาทางการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้าน ถือเป็นภูมิปัญญาที่สืบทอดกันมาอย่างช้านาน ถือเป็นทั้งศาสตร์และศิลปะที่มีมาแต่โบราณ เกิดจากสัญชาตญาณเบื้องต้นของการอยู่รอด ยกตัวอย่างเช่น เมื่อมีอาการปวดเมื่อยหรือเจ็บป่วย ตนเองหรือผู้ที่อยู่ใกล้เคียงมักจะลูบไล้บีบนวดบริเวณดังกล่าว ทำให้อาการปวดเมื่อยลดลง เริ่มแรกก็เป็นไปโดยมิได้ตั้งใจ แต่ต่อมาเมื่อได้เริ่มสังเกตเห็นผลของการบีบนวดในบางจุด หรือบางวิธีที่ได้ผล จึงเก็บไว้เป็นประสบการณ์ และกลายเป็นความรู้ที่สืบทอดกันต่อๆ มา จากรุ่นหนึ่งไปสู่อีกรุ่นหนึ่ง ความรู้ที่ได้จึงสะสมจากลักษณะง่ายๆ ไปสู่ความสลับซับซ้อน จนสามารถสร้างเป็นทฤษฎีการนวด และกลายมาเป็นศาสตร์แขนงหนึ่งที่มีบทบาทบำบัดรักษาอาการและโรคบางอย่าง หรือแม้กระทั้งในปัจจุบันที่ผู้คนหันมาสนใจด้านสมุนไพรมากขึ้น จากการทานยาสมุนไพรฟ้าทะลายโจรเพื่อบรรเทาอาการและรักษาอาการจากโรคโควิด19 ก็เป็นอีกตัวอย่างที่แสดงให้เห็นถึงคุณค่าทางศาสตร์และศิลป์ทางการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้าน ที่ควรจะถูกส่งต่อ สร้างความเข้าใจ และนำมาปฏิบัติให้เป็นกิจวัตรมากขึ้น ดังนั้น ทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลบ้านลำปลอก จึงจัดทำ “โครงการเสริมสร้างสุขภาพด้วยวิถีแผนไทย” เพื่อช่วยส่งเสริมให้คนในชุมชนมีความเข้าใจในศาสตร์แพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านมากขึ้น สามารถนำสมุนไพรมาประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต เพื่อป้องกันและลดการเกิดการเจ็บป่วยจากโรคภัยต่างๆ รวมทั้งเพื่อบำบัดอาการที่เป็นอยู่หรือแม้กระทั่งส่งเสริมให้ผู้อื่นมีสุขภาพที่ดีขึ้นด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้าน อีกประการหนึ่งอันเนื่องด้วยชุมชนตำบลบ้านลำปลอกล้วนประกอบอาชีพเกษตรกรรม เช่นสวนผลไม้และสวนยางพารา ซึ่งทำให้อัตราการเจ็บป่วยด้วยอาการทางกล้ามเนื้อและกระดูกสามารถพบได้ในคนทุกกลุ่มวัย ซึ่งหากประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลตัวเองมากขึ้น ย่อมทำให้อัตราการเจ็บป่วยลดลง ซึ่งจะถือเป็นเรื่องดีทั้งต่อชุมชนและต่อประชากรต่อไปในอนาคต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อสร้างแกนนำชุมชนให้มีความรู้ความสามารถด้านการนวดแผนไทยโดยใช้สมุนไพร
  2. 2. เพื่อให้เกิดทักษะด้านการนวดแผนไทย สามารถนำไปใช้รักษาโรคเบื้องต้นได้
  3. 3. เพื่อพัฒนาองค์ความรู้เรื่องการผลิตและใช้สมุนไพรในท้องถิ่น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 50
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    (1) มีแกนนำชุมชนให้มีความรู้ความสามารถด้านการนวดแผนไทยโดยใช้สมุนไพร   (2) ประชาชนมีทักษะด้านการนวดแผนไทยสามารถนำไปใช้รักษาโรคเบื้องต้นได้ (3) ประชาชนมีองค์ความรู้เรื่องการผลิตและใช้สมุนไพรในท้องถิ่น


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อสร้างแกนนำชุมชนให้มีความรู้ความสามารถด้านการนวดแผนไทยโดยใช้สมุนไพร
    ตัวชี้วัด :

     

    2 2. เพื่อให้เกิดทักษะด้านการนวดแผนไทย สามารถนำไปใช้รักษาโรคเบื้องต้นได้
    ตัวชี้วัด :

     

    3 3. เพื่อพัฒนาองค์ความรู้เรื่องการผลิตและใช้สมุนไพรในท้องถิ่น
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 50
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.  เพื่อสร้างแกนนำชุมชนให้มีความรู้ความสามารถด้านการนวดแผนไทยโดยใช้สมุนไพร (2) 2.  เพื่อให้เกิดทักษะด้านการนวดแผนไทย สามารถนำไปใช้รักษาโรคเบื้องต้นได้ (3) 3.  เพื่อพัฒนาองค์ความรู้เรื่องการผลิตและใช้สมุนไพรในท้องถิ่น

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเสริมสร้างสุขภาพด้วยวิถีแผนไทย จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 66-L1485-2-46

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายฤทธิพร แก้วพิทักษ์ ประธานชมรม อสม. รพ.สต.บ้านลำปลอก )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด