กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อคนในชุมชนได้รับความรู้ความเข้าใจในโทษของสาร โพลาร์ (2) 2. เพื่อให้คนในชุมชนได้ตระหนักและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน/การเลือกซื้อ/การประกอบอาหาร (3) 3. เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.จัดเตรียมกลุ่มเป้าหมาย 2.ประชาสัมพันธ์โครงการ 3.ติดต่อวิทยากร 4.กิจกรรมอบรมให้ความรู้สารโพลาร์ 5.กิจกรรมลงพื้นที่เก็บข้อมูล ทดสอบสารโพลาร์ในน้ำมัน 6.สรุปผลกิจกรรมโครงการ .มีการเฝ้าระวังสถานการณ์ของการใช้น้ำมันทอดซ้ำในพื้นที่ตำบลทุ่งหว้า ประชาชน แกนนำ ผู้ประกอบการที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ถึงภัยร้ายของน้ำมันทอดซ้ำ ว่าอาหารทอดที่มีหน้าตาน่ารับประทาน นอกจากจะมีอันตรายจากความมัน จะทำให้เกิดโรคอ้วน โรคเบาหวาน โรคความดันลิตสูง ยังมีภัยที่เกิดจากน้ำมันที่ใช้ทอดซ้ำมีความเสี่ยงที่ร่างกายจะได้รับสารก่อมะเร็ง รวมไปถึงสารที่จะทำให้เกิดโรคหัวใจอีกด้วย นอกจากนี้ ผู้ที่ปรุงอาหารด้วยน้ำมันทอดซ้ำ จะมีความเสี่ยงในการเกิดโรคมะเร็งปอด เนื่องจากสูดดมควันที่เกิดขึ้นจากการปรุงด้วยน้ำมันทอดซ้ำเข้าไป ผู้เข้าร่วมรู้จักการเลือกใช้น้ำมันและวิธีสังเกตน้ำมันที่ทอดซ้ำได้ อีกทั้งยังรู้ถึงการใช้ชุดทดสอบสารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ กำหนดให้มีสารโพลาร์ได้ไม่เกินร้อยละ 25 ประโยชน์ของการใช้ชุดทดสอบ คือ ผู้ที่ทอดอาหารเพื่อจำหน่าย จะได้ทราบว่าเมื่อใดถึงควรจะเปลี่ยนน้ำมันที่ใช้ปรุงอาหารและจะได้เปลี่ยนน้ำมันตามช่วงเวลาที่เหมาะสม เพื่อลดความเสี่ยงและอันตรายที่จะเกิดขึ้นผู้ปรุงอาหารและต่อผู้บริโภค มีความถูกต้อง แม่นยำ ใช้งานง่ายและมีราคาประหยัด สามารถตรวจดูคุณภาพของน้ำมันได้ทันที..ทุกคนมีความตระหนัก สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน ประชาชนผู้บริโภคอาหารทอดได้รับความปลอดภัย

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ