กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อคนในชุมชนได้รับความรู้ความเข้าใจในโทษของสาร โพลาร์
ตัวชี้วัด : 1. มีผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจโทษของสารโพลาร์ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80
100.00 100.00 100.00

 

2 2. เพื่อให้คนในชุมชนได้ตระหนักและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน/การเลือกซื้อ/การประกอบอาหาร
ตัวชี้วัด : 2. ผลการประเมินผู้เข้าร่วมโครงการมีความตระหนัก และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน ร้อยละ 80
100.00 100.00 100.00

 

3 3. เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน
ตัวชี้วัด : 3. คณะทำงานมีความรู้ความเข้าใจ ใช้แบบทดสอบได้ ร้อยละ 90
100.00 100.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 80 80
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อคนในชุมชนได้รับความรู้ความเข้าใจในโทษของสาร โพลาร์ (2) 2. เพื่อให้คนในชุมชนได้ตระหนักและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน/การเลือกซื้อ/การประกอบอาหาร (3) 3. เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.จัดเตรียมกลุ่มเป้าหมาย 2.ประชาสัมพันธ์โครงการ 3.ติดต่อวิทยากร 4.กิจกรรมอบรมให้ความรู้สารโพลาร์ 5.กิจกรรมลงพื้นที่เก็บข้อมูล ทดสอบสารโพลาร์ในน้ำมัน 6.สรุปผลกิจกรรมโครงการ .มีการเฝ้าระวังสถานการณ์ของการใช้น้ำมันทอดซ้ำในพื้นที่ตำบลทุ่งหว้า ประชาชน แกนนำ ผู้ประกอบการที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ถึงภัยร้ายของน้ำมันทอดซ้ำ ว่าอาหารทอดที่มีหน้าตาน่ารับประทาน นอกจากจะมีอันตรายจากความมัน จะทำให้เกิดโรคอ้วน โรคเบาหวาน โรคความดันลิตสูง ยังมีภัยที่เกิดจากน้ำมันที่ใช้ทอดซ้ำมีความเสี่ยงที่ร่างกายจะได้รับสารก่อมะเร็ง รวมไปถึงสารที่จะทำให้เกิดโรคหัวใจอีกด้วย นอกจากนี้ ผู้ที่ปรุงอาหารด้วยน้ำมันทอดซ้ำ จะมีความเสี่ยงในการเกิดโรคมะเร็งปอด เนื่องจากสูดดมควันที่เกิดขึ้นจากการปรุงด้วยน้ำมันทอดซ้ำเข้าไป ผู้เข้าร่วมรู้จักการเลือกใช้น้ำมันและวิธีสังเกตน้ำมันที่ทอดซ้ำได้ อีกทั้งยังรู้ถึงการใช้ชุดทดสอบสารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ กำหนดให้มีสารโพลาร์ได้ไม่เกินร้อยละ 25 ประโยชน์ของการใช้ชุดทดสอบ คือ ผู้ที่ทอดอาหารเพื่อจำหน่าย จะได้ทราบว่าเมื่อใดถึงควรจะเปลี่ยนน้ำมันที่ใช้ปรุงอาหารและจะได้เปลี่ยนน้ำมันตามช่วงเวลาที่เหมาะสม เพื่อลดความเสี่ยงและอันตรายที่จะเกิดขึ้นผู้ปรุงอาหารและต่อผู้บริโภค มีความถูกต้อง แม่นยำ ใช้งานง่ายและมีราคาประหยัด สามารถตรวจดูคุณภาพของน้ำมันได้ทันที..ทุกคนมีความตระหนัก สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน ประชาชนผู้บริโภคอาหารทอดได้รับความปลอดภัย

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh